Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิวิธ วงศ์ทิพย์th_TH
dc.contributor.authorวินิตา ฉิมสุนทรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:37Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:37Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13439en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมาของการถ่ายทอดเทคโนโลยี (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของราชอาณาจักรไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และประเทศญี่ปุ่น (3) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของไทย (4) เสนอแนวทางในการกำกับดูแลการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยมีการรวบรวมข้อมูลจากตำราทางกฎหมาย วิทยานิพนธ์ บทความ และฐานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ควบคู่กับการศึกษาเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของไทย จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น ผลการวิจัยพบว่า (1) เทคโนโลยีคือพลังขับเคลื่อนที่นำไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม ประเทศกำลังพัฒนาจึงมีการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งหวังว่าจะได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านการลงทุนจากต่างประเทศและการทำสัญญาทางเทคโนโลยีกับชาวต่างชาติ (2) จีน ญี่ปุ่น และเวียดนามมีการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการลงทุนจากต่างประเทศและกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้ความคุ้มครองแก่การลงทุนจากต่างประเทศและสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของชาวต่างชาติ ในขณะเดียวกัน ทั้งสามประเทศนี้ก็มีการดำเนินนโยบายอุตสาหกรรมและการใช้บังคับกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการผูกขาดด้านทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อก่อให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างเป็นธรรม (3) ประเทศไทยยังไม่มีกรอบทางกฎหมายในการกำกับดูแลการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ชัดเจน (4) ประเทศไทยควรจัดทำกฎหมายแม่แบบว่าด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยี อันมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการป้องกันการผูกขาดด้านทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจกับการกำกับดูแลการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในแง่ของการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยไม่ขัดแย้งกับกติกาแห่งองค์การการค้าโลกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการถ่ายทอดเทคโนโลยี--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการพัฒนาอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมth_TH
dc.title.alternativeLegal measures concerning technology transfer for industrial developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the background of technology transfer, (2) to study the legal measures concerning technology transfer in the Kingdom of Thailand, the People’s Republic of China, the Socialist Republic of Vietnam, and Japan, (3) to analyze the issues concerning technology transfer in Thailand, (4) to propose appropriate regulatory measures for overseeing technology transfer in Thailand. This research employed a qualitative methodology utilizing documentary research methods. Data were gathered from legal textbooks, theses, articles, and online databases, alongside a comparative study of legal measures concerning technology transfer in Thailand, China, Vietnam, and Japan. Research findings were as follows: (1) Technology is a driving force that leads to industrial development. Developing Countries, therefore, adopt economic liberalization with the expectation of receiving technology transfer through foreign investment and technology contracts with foreign nationals. (2) China, Vietnam, and Japan enforce foreign investment laws and intellectual property laws to protect foreign investments and intellectual property rights of foreign nationals. At the same time, these countries also implement industrial policies and enforce antimonopoly laws in the field of intellectual property to ensure the fair transfer of technology. (3) Thailand currently lacks a clear legal framework for regulating technology transfer. (4) Thailand should establish a model law on technology transfer, which includes provisions on antimonopoly in the field of intellectual property, to create a balance between economic liberalization and the regulation of technology transfer. This would enable Thailand to benefit from economic liberalization in terms of technology transfer without conflicting with the rules of the World Trade Organization.en_US
dc.contributor.coadvisorปุณณ์ดาพัชร์ วิมลคุณารักษ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2624000077.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.