กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13456
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth_TH
dc.contributor.authorฌัชชา เกิดชมth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:40Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:40Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13456en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระมีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาทฤษฎีและหลักการกับเกี่ยวสิทธิของนักโทษเด็ดขาด ภายหลังพ้นโทษ, (2) ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายในประเทศไทย สาธารณรัฐฝรั ่งเศส และเครือรัฐ ออสเตรเลียเกี ่ยวกับการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำที่นำมาบังคับใช้กับนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ, (3) ศึกษา วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายในการนำมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำมาบังคับใช้กับนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ, (4) เสนอแนะทางกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำที่นำมาบังคับใช้กับนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาจากหนังสือ ภาษาไทยและหนังสือภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากตำราและคำอธิบายต่าง ๆ หมายเหตุท้ายคำพิพากษาศาลฎีกาในคดีอาญา บทความ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เอกสารวิจัยเพื่อให้งานวิจัยสมบูรณ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ตามทฤษฎีและหลักการกับเกี่ยวสิทธิของนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ สิทธิใน การได้รับการพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม เป็นสิทธิขั ้นพื ้นฐานตามกฎหมาย สิทธิดังกล่าวจึงมีความเกี่ยวข้องกับ กฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการควบคุมความประพฤติและการคุมขังผู้กระทำผิดที่มีความเสี่ยงที่จะกระทำผิดซ้ำสูงไว้ (2) มาตรการทางกฎหมายในประเทศไทยและต่างประเทศเกี่ยวกับการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำที ่นำมาบังคับใช้กับนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ หลักการลงโทษตามที่ผู กระทำผิดสมควรได้รับโทษจะต้องได้สัดส่วนในการกระทำ ความผิดกฎหมายของต่างประเทศให้อำนาจศาลในการกำหนดโทษ, (3) การวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายในการนำมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำมาบังคับใช้กับนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ในการดำเนินการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในทางปฏิบัตินั้น ปัจจุบันในต่างประเทศหลาย ๆ ประเทศดำเนินการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำ ผิดตามหลักความเสี่ยง ความต้องการ การตอบสนอง ซึ่งเป็นหลักการที่ให้ความสำคัญกับการจำแนกผู้กระทำผิดว่า ผู้กระทำผิดเป็นผู้มีความเสี่ยงในการกระทำผิดซ้ำสูงหรือไม่, (4) เสนอแก้ไข พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำ ความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 มีข้อกฎหมายที่มีข้อบกพร่องในเรื่องระยะเวลาการใช้ มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ตามมาตรา 22 การกำหนดระยะเวลาการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาด ภายหลังพ้นโทษประเทศไทยไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันพ้นโทษนั้น ซึ่งขัดหลักความได้สัดส่วนเป็นหลักการพื้นฐานภายใต้หลักนิติธรรมเป็นหลักสำคัญเพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ควรคำนึงถึงหลักความได้สัดส่วน, การที่ไม่ขอความยินยอม จากนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษบังคับใช้มาตรการทางการแพทย์เป็นการกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคล อันเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, ผู้ถูกคุมขังมีสิทธิได้รับการเยียวยาจากการคุมขังที่มิชอบนั้น ขัดกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 ข้อ 9 ที่รับรองสิทธิที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนหากถูกจับกุมหรือถูกควบคุมโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการกระทำผิดซ้ำth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาการนำมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำมาบังคับใช้กับนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษth_TH
dc.title.alternativeProblems in applying legal measures for prevention repeat offenses to prisoners after they are released from prisonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the independent study are (1) to study theories and principles regarding the rights of prisoners after their release, (2) to study and compare legal measures of Thailand and regarding the prevention of recidivism that has been applied to prisoners after their release. (3) to study and analyze legal problems in applying legal measures regarding the prevention of recidivism to be enforced on prisoners after their release, 4) to recommend legal measures for the prevention of recidivism to be applied to prisoners after their release from prison.Qualitative research with the method of research from documents (documentary Research) by studying from books in Thai and related books in English, information from text books and various explanations to complete the research.The study found that (1) according to the theory and principle of the right of the convict after the release of the sentence, the right to be justly tried, the right to a fair trial is a fundamental right according to the law. and detention of the law to control the behavior of the offenders who are at high risk of reoffending. (2) legal measures in Thailand and abroad regarding the  prevention of recidivism that are enforced on prisoners after their release. The principle of deserved punishment of an offender must be proportionate to the crime committed under the laws of foreign countries, giving the court the power to impose punishment. (3) analysis of the legal problems in implementing legal measures to prevent recidivism on prisoners after their release from prison. Rehabilitate offenders based on the principle of risk-needs-response, which is a principle that focuses on classifying offenders as being at high risk of reoffending. (4) proposing amendments to the Act on Measures for Preventing Repeat Offenses in Sexual or Violent Offenses, B.E. 2022, which has a defect regarding the period for using measures to monitor prisoners after they are released from prison, according to Section 22. The determination of the period for monitoring prisoners after their released in Thailand is not more than 10 years from the date of their release. This violates the principle of proportionality, a basic principle under the rule of law. It is an important principle to protect the fundamental human rights. The principle of proportionality should be taken into account, The absolute absence of the prisoner's consent after their release of the sentence applies medical measures.  It affects the human dignity of a person. which is in violation of the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2017. Detainees have the right to receive relief from such wrongful imprisonment. This is contrary to Article 9 of the 1966 International Covenant on Civil and Political Rights, which guarantees the right to compensation if arrested or detained unlawfully.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Law-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2634002055.pdf866.19 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น