Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWASAN SUKINen
dc.contributorวสันต์ สุกินth
dc.contributor.advisorInkarat Doljemen
dc.contributor.advisorอิงครัต ดลเจิมth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:45Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:45Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued9/4/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13478-
dc.description.abstractThis independent study seeks to (1) investigate the historical developments and challenges associated with the unacceptable risk of re-offending, along with the consequences of a law addressing this risk in cases of serious sex violence, (2) study principles and theories of criminal sentencing and theories related to an unacceptable risk of re-offending, (3) examine legal provisions or statutes that aim to prevent or address the unacceptable risk of re-offending in cases of serious sex violence in the Kingdom of Thailand, The French Republic, The Federal Republic of Germany, and the Commonwealth of Australia, (4) analyze and compare the legal penalties in Thailand with those of the other three nations and, (5) propose recommendations for enhancing legislation designed to prevent or deal with the unacceptable risk of                     re-offending in cases involving serious sexual violence.This independent study is qualitative and documentary which analyses documents in both Thai and English along with books, law books, researches, theses, academic journals, academic articles, court’s judgements and information for respectable websites.The result finds that (1)the re-offending in serious sex violence cases has                    a significant and widely recognized impact. Consequently, (2)The Kingdom of Thailand must enact corresponding laws. Nevertheless, (3)There is still ambiguity regarding the criteria or frameworks guiding the discretion of enforcement officers in this regard. There is an absence of legal protection for a former convict, also no definitions or guidelines specifying scope of law enforcement of emergency detention. This may overly affect the rights and liberties of ex-convicts. (4)In the French Republic, and the Commonwealth of Australia, There is a limitation on the court's discretion in their detention after Release order and emergency detention. Additionally, in The Federal Republic of Germany, there is a basis for acknowledging the rights of people under orders in such situations. Consequently, (5)for the successful implementation of the Act, the researcher recommends imposing limits on issuing orders according to laws, recognizing the rights of ex-convicts, and establishing clear definitions and scope for emergency detention enactment.en
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงความเป็นมา สภาพของปัญหาเกี่ยวกับ                  การกระทำความผิดซ้ำและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการบังคับใช้มาตรการในการป้องกันการกระทำผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง (2) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการลงโทษทางอาญาและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดซ้ำ (3) ศึกษาบทบัญญัติทางกฎหมายอันเกี่ยวกับการป้องกันการกระทำผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงของกฎหมายไทยและกฎหมายของสาธารณรัฐฝรั่งเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และเครือรัฐออสเตรเลีย (4) วิเคราะห์และเปรียบเทียบบทบัญญัติทางกฎหมายตามกรณีปัญหาของกฎหมายไทยและหลักดังกล่าวในต่างประเทศ โดยเปรียบเทียบกับกฎหมายของสาธารณรัฐฝรั่งเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และเครือรัฐออสเตรเลีย (5) เสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติทางกฎหมาย เกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันการกระทำผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 ของราชอาณาจักรไทยการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากเอกสารที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หนังสือ ตำรากฎหมาย ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ วารสารวิชาการ บทความทางวิชาการ ตลอดจนแนวคำพิพากษาของศาล รวมถึงการหาข้อมูลทางเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ รวมถึงค้นคว้าจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องคำสั่งตามกรณีปัญหาผลการศึกษา พบว่า (1)ปัญหาการกระทำความผิดซ้ำเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยครั้ง แต่การกระทำผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง หากเกิดขึ้นแล้วก่อผลเสียหายร้ายแรงและสร้างผลกระทบเป็นอย่างมาก (2)ราชอาณาจักรไทยจึงต้องบังคับใช้มาตรการป้องกันกรณีดังกล่าว อย่างไรก็ตาม (3)กฎหมายฉบับนี้ ยังมี                    ความคลุมเครือเกี่ยวกับมาตรฐานหรือกรอบในการกำหนดดุลยพินิจของผู้ออกคำสั่งตามมาตรการ การขาดบทบัญญัติในการรับรองสิทธิของผู้ต้องคำสั่ง รวมถึงการขาดคำนิยาม การกำหนดขอบเขตการบังคับใช้การคุมขังฉุกเฉิน อันอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องคำสั่งเกินสมควร (4)มาตรการดังกล่าวในสาธารณรัฐฝรั่งเศส เครือรัฐออสเตรเลีย ได้กำหนดกรอบดุลยพินิจของศาลในการออกคำสั่งคุมขังภายหลังพ้นโทษและการคุมขังฉุกเฉินไว้ นอกจากนี้ในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนียังได้กำหนดหลักอันเป็นพื้นฐานใน การรับรองสิทธิของผู้ต้องคำสั่งอย่างชัดเจน(5)เพื่อการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องคำสั่งให้ดีขึ้น ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะให้มีการกำหนดกรอบดุลยพินิจในการออกคำสั่งตามมาตรการ การบัญญัติรับรองสิทธิของผู้ต้องคำสั่ง และกำหนดนิยาม ขอบเขตการบังคับใช้การคุมขังฉุกเฉินth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการทำความผิดซ้ำเกี่ยวกับเพศหรือความรุนแรง การป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ การคุมขังภายหลังพ้นโทษth
dc.subjectRecidivism in Sexual or Violent Offensesen
dc.subjectRe-offending preventionen
dc.subjectDetention after Release.en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationLibrary, information, archiveen
dc.titleIssues Related to the rights and liberties of ex-convicts underPreventive Measures for Recidivism in Sexual or Violent Offensesen
dc.titleปัญหาการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องคำสั่งตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรงth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorInkarat Doljemen
dc.contributor.coadvisorอิงครัต ดลเจิมth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Laws in Criminal Law and Criminal Justice (LL.M.)en
dc.description.degreenameนิติศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม (น.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Lawsen
dc.description.degreedisciplineนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2644001675.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.