กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13500
ชื่อเรื่อง: The Issues of Prevention and Suppression of Migrant Smuggling  in Thailand
ปัญหามาตรการป้องกันและปราบปรามขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานในประเทศไทย
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: Issariya Dissayawongwarang
อิสริยาภ์ ดิษยะวงษ์วราง
Supatra Phanwichit
สุพัตรา แผนวิชิต
Sukhothai Thammathirat Open University
Supatra Phanwichit
สุพัตรา แผนวิชิต
[email protected]
[email protected]
คำสำคัญ: การลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน อาชญากรรมข้ามชาติ กฎหมายคนเข้าเมือง
Smuggling of Migrants
Transnational Organized Crimes
Immigration law
วันที่เผยแพร่:  21
สำนักพิมพ์: Sukhothai Thammathirat Open University
บทคัดย่อ: This independent study aims to, the purpose of this independent study is (1) concepts, theories, principles, and history of migrant smuggling in the form of criminal groups or organizations. (2) compare legal provisions related to measures to prevent and suppress migrant smuggling activities in Thailand and The United States of America (USA). (3) Analyze the problem of measures to prevent and suppress migrant smuggling. (4) to suggest the guidelines for developing and improving laws regarding preventing and suppressing migrant smuggling in Thailand.This independent study is a qualitative research conducted through document analysis. on researching information from books, textbooks, laws, Supreme Court judgments, Academic articles, journals, research works, theses, study reports, or academic documents in Thai, Including searching for information and electronic media from reliable websites so that the discovered data will be used for comparative analysis with The United States of America to find a conclusion under the principles of theory and legal principles and propose ways to amend the law to be more appropriate.The result indicated that : (1) according to the theoretical concept of the theory of seriousness in criminal acts and the importance of the elements that the authority must take more seriously in illegal movement in the migration of the authority. For example, it is the reason any person should study the facts regarding wrongdoing in various matters. (2) Thailand has legal measures to prevent and suppress migrant smuggling as stipulated in the Immigration Act, BE 2522. However, the nature of the offense of smuggling is specified in the Act on Immigration Laws not enough and complies with the United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000 (UNTOC) and the Protocol against the Smuggling of Migrants by Land, Sea Air, 2000. (3) The problem of not criminalizing people smuggling and the reasons for increasing penalties for severe situations in Thailand's people smuggling offenses are still covered and consistent with international law and the same laws as those of the United States. (4) Therefore, it is considered that the offense of smuggling people into Thailand should be covered. Including adding penalties for crimes related to migrant smuggling to be more appropriate and effective according to the theory of criminal offenses.
การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และความเป็นมาของขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน (2) เปรียบเทียบบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันและปราบปรามขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน ทั้งในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา (3) วิเคราะห์ปัญหามาตรการป้องกันและปราบปรามขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน (4) ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานในประเทศไทยการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยอาศัยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ ตำรา กฎหมาย คำพิพากษาฎีกา บทความทางวิชาการ วารสาร ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการศึกษา หรือเอกสารทางวิชาการที่เป็นภาษาไทย รวมถึงการสืบค้นข้อมูลและสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ วิเคราะห์เปรียบเทียบกับสหรัฐอเมริกา เพื่อหาข้อสรุป ภายใต้หลักทฤษฎีและหลักกฎหมาย เสนอแนวทางแก้ไขกฎหมายให้มีความเหมาะสมต่อไปผลการศึกษาพบว่า (1) ตามแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดอาญา สอดคล้องเจตนารมณ์ในการกำหนดให้ผู้กระทำความผิดต้องรับโทษหนักขึ้นในความผิดที่เกี่ยวกับขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน เช่น กรณีเป็นเหตุให้บุคคลใดเสียชีวิต กรณีกระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ เป็นต้น (2) ประเทศไทย มีมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน แต่การกำหนดลักษณะการกระทำความผิดของการลักลอบขนเข้าเมืองไว้ในพระราชบัญญัติว่าด้วยคนกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ยังไม่เพียงพอและสอดคล้องกับคำนิยามของขบวนการในรูปแบบองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ และการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000 และพิธีสารว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานโดยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ค.ศ. 2000 (3) ปัญหาการไม่บัญญัติความผิดฐานลักลอบขนคนเข้าเมืองและเหตุเพิ่มโทษสำหรับสถานการณ์รุนแรงในความผิดฐานลักลอบขนคนเข้าเมืองของประเทศไทยยังครอบคลุมและสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศและบัญญัติเช่นเดียวกับกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา (4) จึงเห็นควรให้มีการความผิดฐานลักลอบขนคนเข้าเมืองของประเทศไทยให้ครอบคลุม รวมถึงการเพิ่มเติมบทกำหนดโทษสำหรับเหตุฉกรรจ์ในความผิดเกี่ยวกับขบวนการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานให้เหมาะสมเป็นไปตามแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดอาญาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13500
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Law-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2654001649.pdf984.63 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น