Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13504
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพัตรา แผนวิชิตth_TH
dc.contributor.authorวิจิตรา เมตตามตะกุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:52Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:52Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13504en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับมาตรการชะลอฟ้องคดีอาญาในกฎหมายไทยและญี่ปุ่น (2) ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการชะลอฟ้องในกฎหมายไทยและญี่ปุ่น (3) วิเคราะห์ปัญหาการใช้มาตรการชะลอฟ้องของพนักงานอัยการไทยและญี่ปุ่น (4) เสนอแนะ แนวทางการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับมาตรการชะลอฟ้องคดีอาญาในกฎหมายไทยการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาเชิงเอกสาร โดยค้นคว้ารวบรวมหนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความ ข้อมูลในอินเตอร์เน็ต รวมถึงบทบัญญัติของกฎหมาย เพื่อนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และเสนอแนวทางแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวกับมาตรการชะลอฟ้องในกฎหมายไทยให้เหมาะสมกับปัจจุบันผลการศึกษาพบว่า (1) ตามแนวคิด ทฤษฎีการสั่งฟ้องคดีของพนักงานอัยการตามหลักดุลพินิจ ทำให้พนักงานอัยการใช้มาตรการทางเลือกได้ และกฎหมายได้วางหลักเกี่ยวกับประเภทคดีที่ใช้ หลักการพิจารณา ผลของการใช้ และการตรวจสอบคำสั่งของพนักงานอัยการ ให้ปฎิบัติได้ในแนวทางเดียวกัน (2) พนักงานอัยการของไทยและญี่ปุ่นมีหลักการที่ใช้สั่งฟ้องคดีเหมือนกัน ซึ่งไม่มีบทบัญญัติใดบังคับให้พนักงานอัยการต้องสั่งฟ้องทุกคดี แต่สำหรับพนักงานอัยการไทยมิได้กำหนดถึงมาตรการชะลอฟ้องไว้ สำหรับพนักงานอัยการญี่ปุ่น ได้วางหลักของมาตรการชะลอการฟ้องไว้ด้วย ซึ่งทำให้พนักงานอัยการใช้ดุลพินิจได้กว้างขวางมากกว่า (3) จากการวิเคราะห์ปัญหาพบว่ากฎหมายไทยมิได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ถึงการใช้มาตรการชะลอฟ้อง จึงยังไม่มีบทบัญญัติเรื่องการชะลอฟ้องที่ใช้บังคับได้ (4) ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะว่าควรแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการและมาตรการชะลอฟ้องให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชะลอการฟ้อง--ไทยth_TH
dc.subjectการชะลอการฟ้อง--ญี่ปุ่นth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleความเหมาะสมการนำมาตรการชะลอฟ้องคดีอาญามาใช้ในกฎหมายไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายญี่ปุ่นth_TH
dc.title.alternativeSuitability for introducing deferred prosecution to Thai Law in Comparison with Japanese Lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study are to: (1) study concepts and theories of deferred prosecution in Thai and Japanese laws; (2) comparative deferred prosecution in Thai and Japanese laws; (3) analyze problems with adopting deferred prosecution by Thai and Japanese public attorneys; and (4) recommend to reforming laws concerning deferred prosecution.This independent study is a qualitative research into laws, employing a method of documentary research, by gathering information from textbooks, theses, articles and online media, as well as legal statutes, in order to come up with content analysis, and recommend approaches to amending the Thai laws regarding deferred prosecution, as to be suitable for current situations.The analysis finds that: (1) the concepts and theories of deferred prosecution by public attorneys, under the opportunity principle, result in the public attorneys ordering not to prosecute or opting for alternative measures, as well as the law on deferred prosecution provides with criteria for categories of cases, consideration bases, goals of the deferred prosecution, and verification of the public attorneys' orders, in order that the practice can attain uniformity; (2) Thai and Japanese public attorneys have the same concepts and bases of prosecution, and there are no legal statutes requiring prosecution of all cases, but the Thai public attorneys do not have deferred prosecution in place, whereas the Japanese laws provide with bases for deferred prosecution; (3) the Thai laws do not have statutes governing deferred prosecution, thus there are no legal statutes to enforce deferred prosecution; (4) the author recommends reformation of the laws concerning the public attorneys' exercise of discretion and deferred prosecution, for more clarity, in order that deferred prosecution can be enforced in practice.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2654001771.pdf948.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.