Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHULEEPORN RAKSAYOSen
dc.contributorชุลีพร รักษายศth
dc.contributor.advisorWanwipa Muangthamen
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:47:55Z-
dc.date.available2025-01-24T08:47:55Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued2/9/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13514-
dc.description.abstractThe objectives of this independent research are: (1) to study theoretical concepts concerning the authority to arrest offenders, the imposition of increased penalties for repeat offenses, and the authority to impose fines in cases where fines are the sole penalty; (2) to compare the relevant legal provisions regarding the authority to arrest offenders, the imposition of increased penalties for repeat offenses, and the authority to impose fines in cases where fines are the sole penalty in Thailand, the Federal Republic of Germany, and the Republic of France; (3) to analyze legal issues related to the authority to arrest offenders, the imposition of increased penalties for repeat offenses, and the authority to impose fines in cases where fines are the sole penalty; and (4) to propose recommendations for amending the laws under the Act on Administrative Fines, B.E. 2565, in relation to the authority to arrest offenders, the imposition of increased penalties for repeat offenses, and the authority to impose finesin cases where fines are the sole penalty under the Act on the Maintenance of Cleanliness and Orderliness of the Country, B.E. 2535.This independent study employs qualitative research through document analysis by gathering information from legal textbooks, academic articles, journals, research papers, theses, legislation, and easily accessible and reliable websites. All data are used to analyze, conclude, and provide recommendations.The findings are as follows: (1) The theoretical concepts regarding the authority to arrest offenders, the imposition of increased penalties for repeat offenses, and the authority to impose fines in cases where fines are the sole penalty focus on ensuring certainty, speed, and equality in law enforcement. (2) Comparative legal studies reveal that Thailand has the Act on Administrative Fines, B.E. 2565, as the central law for cases where fines are the sole penalty, while the Federal Republic of Germany uses the Federal Administrative Offenses Act as the “central law” for non-serious offenses,and the Republic of France does not have a specific central law but grants state officials the authority to impose fines themselves. (3) Legal issue analysis shows that Thailand lacks the authority to arrest offenders, has no standardized list of offenses and penalties, and restricts the individuals with the authority to impose fines. (4) The study proposes amendments to the Act on the Maintenance of Cleanliness and Orderliness of the Country, B.E. 2535, by increasing the positions of administrative officers, issuing Bangkok Metropolitan Administration regulations on the list of offenses and penalties, and recommending that the Minister of Interior amend and add positions of state officials with the authority to impose administrative fines.en
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด การกำหนดเพิ่มอัตราโทษ กรณีการกระทำความผิดซ้ำ และผู้มีอำนาจการเปรียบเทียบปรับ ในคดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว (2) ศึกษาเปรียบเทียบบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด  การกำหนดเพิ่มอัตราโทษกรณีการกระทำความผิดซ้ำ และผู้มีอำนาจการเปรียบเทียบปรับ ในคดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียวของประเทศไทย สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และสาธารณรัฐฝรั่งเศส (3) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด การกำหนดเพิ่มอัตราโทษ กรณีการกระทำความผิดซ้ำ และผู้มีอำนาจการเปรียบเทียบปรับ ในคดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว (4) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. 2565 ในเรื่องอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด การกำหนดเพิ่มอัตราโทษ กรณีการกระทำความผิดซ้ำ และผู้มีอำนาจการเปรียบเทียบปรับ ในคดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว แห่งพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535                   การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารโดยอาศัยการค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากตำรากฎหมาย บทความทางวิชาการ วารสาร ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ พระราชบัญญัติ รวมทั้งเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายและเป็นแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหา เปรียบเทียบ สรุปและข้อเสนอแนะ                  ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด การกำหนดเพิ่มอัตราโทษกรณีการกระทำความผิดซ้ำ และผู้มีอำนาจการเปรียบเทียบปรับ ในคดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว มุ่งเน้นให้การบังคับใช้กฎหมายมีความแน่นอน รวดเร็วและเสมอภาค (2) เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายพบว่า ประเทศไทย มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. 2565 เป็นกฎหมายกลาง ในคดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว ส่วนสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี มีรัฐบัญญัติแห่งสหพันธ์ว่าด้วยการกระทำผิดทางปกครอง เป็น “กฎหมายกลาง” เพื่อใช้ในการพิจารณาและกำหนดโทษสำหรับความผิดที่ไม่ร้ายแรง และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ไม่มีการตรากฎหมายกลางไว้เป็นการเฉพาะ แต่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ของรัฐกำหนดค่าปรับเองได้ (3) เมื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายพบว่า ประเทศไทยสูญเสียอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด ไม่มีบัญชีฐานความผิดและอัตราโทษที่ใช้บังคับให้เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน และถูกจำกัดตัวบุคคลผู้มีอำนาจการเปรียบเทียบปรับ (4) เสนอแก้ไขกฎหมายตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 โดยการเพิ่มตำแหน่งงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ ออกระเบียบกรุงเทพมหานคร เรื่อง บัญชีฐานความผิดและอัตราโทษ และเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แก้ไขเพิ่มเติมตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีอำนาจปรับเป็นพินัยth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectปรับเป็นพินัย อำนาจเปรียบเทียบปรับ อำนาจจับกุม กฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาด  และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองth
dc.subjectRegulatory Finesen
dc.subjectAuthority to Impose Finesen
dc.subjectPower to Arresten
dc.subjectAct on the Maintenance of Cleanliness and Orderliness of the Country.en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.titleThe Enforcement of the Act on Administrative Fines, B.E. 2565: A Case Study of the Act on the Maintenance of Cleanliness and Orderliness of the Country, B.E. 2535, Section 17(2) in Bangkoken
dc.titleการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. 2565 : ศึกษากรณีพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 มาตรา 17(2)  ในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorWanwipa Muangthamen
dc.contributor.coadvisorวรรณวิภา เมืองถ้ำth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Laws in Criminal Law and Criminal Justice (LL.M.)en
dc.description.degreenameนิติศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม (น.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Lawsen
dc.description.degreedisciplineนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2654002159.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.