Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTECHIN PLOYWILERTen
dc.contributorเตชินท์ พลอยวิเลิศth
dc.contributor.advisorSunan Seesangen
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:57:24Z-
dc.date.available2025-01-24T08:57:24Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/11/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13594-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) basic personal and socio-economic situations of farmers, 2) situations of farmer registration database utilization, 3) needs in farmer registration database utilization, and 4) problems and suggestion of farmer registration database usability by farmers and administrative agencies.The research population consisted of 8,217 registered farmers by the year 2023.  Samples were calculated by using Taro Yamane’s formula with an error level of 0.07 accounting for 200 farmers and selected by simple random sampling method.  Data were collected from the samples and 16 administrative agencies in Phon Na Kaeo District of Sakon Nakhon Province by two structural interview forms.  The statistics were used to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum, maximum, and ranking.The research findings showed that 1) the farmers had an average age of 55.43 years and finished primary education. Most of them didn’t hold any social positions and all of them were rice farmer with average 15.24 rai of farming area. 2) Most farmers had used their own personal data with an objective for participating in government project, while two-thirds of administrative agencies received agricultural activity data with an objective for a reference of development project or plan.  Most of farmers and government agencies received the data by themselves at the district agricultural extension office and indicated at high level for the service. 3) The farmers would like to receive their personal data by service via representative of district extension office at the most level, while administrative agencies stated their needs at the most level in agricultural activity data by service via online system. 4) In general, the farmer problem was lower than that of administrative agencies.  Most farmers had lack of knowledge in online service system, while administrative agencies had problems of communication, complicate and delay service process.  Both farmers and administrative agencies suggested that the government should state the main objective of farmer registration and data base clearly.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรของเกษตรกรและหน่วยงาน 3) ความต้องการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรของเกษตรกรและหน่วยงาน และ 4) ปัญหาและข้อเสนอในการส่งเสริมการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรของเกษตรกรและหน่วยงาน การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบสำรวจ ประชากรที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้ คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ประจำปี 2566 จำนวน 8,217 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเกษตรกรโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน ค่าความคาดเคลื่อน 0.07 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 200 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และหน่วยงานต่าง ๆ ในอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร จำนวน 16 หน่วยงาน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2 ชุด สำหรับเกษตรกรและหน่วยงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรอายุเฉลี่ย 55.43 ปี ส่วนใหญ่ไม่มีตำแหน่งทางสังคม ทั้งหมดประกอบอาชีพทำนา พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 15.24 ไร่  2) เกษตรกรเกือบทั้งหมดมีการใช้ข้อมูลประวัติส่วนตัว วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นหลักฐานขอเข้าร่วมโครงการหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่ประมาณ 2 ใน 3 ของหน่วยงานมีการใช้งานข้อมูลกิจกรรมการเกษตร วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในการจัดทำโครงการหรือแผนพัฒนา โดยส่วนใหญ่มีการขอรับบริการด้วยตนเอง ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ และความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เหมือนกันทั้งเกษตรกรและหน่วยงาน3) เกษตรกรมีความต้องการใช้งานข้อมูลประวัติส่วนตัวของเกษตรกรมากที่สุด โดยการขอรับบริการผ่านตัวแทนสำนักงานเกษตรอำเภอ ส่วนหน่วยงานมีความต้องการใช้งานข้อมูลกิจกรรมการเกษตรของเกษตรกรมากที่สุด การขอรับบริการโดยสามารถดาวน์โหลดข้อมูลผ่านระบบออนไลน์  4) ภาพรวมระดับปัญหาของเกษตรกรน้อยกว่าระดับปัญหาของหน่วยงาน  โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการติดต่อขอรับข้อมูลผ่านระบบออนไลน์  ส่วนหน่วยงานมีปัญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการติดต่อหน่วยงานให้บริการขอรับข้อมูล เพราะมีหลายขั้นตอนและล่าช้า ทั้งเกษตรกรและหน่วยงานเสนอว่า รัฐบาลควรกำหนดวัตถุประสงค์หลักของการขึ้นทะเบียนและการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลเกษตรกรให้ชัดเจนth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร การใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรth
dc.subjectFarmer registration databaseen
dc.subjectDatabase utilizationen
dc.subjectAdministrative agency involving farmeren
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationBasic / broad general programmesen
dc.titleFarmer Registration Database utilization in Phon Na Kaeo District of Sakon Nakhon Provinceen
dc.titleการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรในอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSunan Seesangen
dc.contributor.coadvisorสุนันท์ สีสังข์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster Agriculture in Agricultural Extension and Development (M.Ag. (Agricultural Extension and Development))en
dc.description.degreenameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Agriculture (Agricultural and Development)en
dc.description.degreedisciplineเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2659000331.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.