Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13739
Title: Factors Influencing Consumer Purchase Decisions for Battery Electric Vehicle
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ไฟฟ้า ประเภทแบตเตอรี่ ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Authors: Boonwipa Promsorn
บุญวิภา พรหมศร
Chalermpon Jatuporn
เฉลิมพล จตุพร
Sukhothai Thammathirat Open University
Chalermpon Jatuporn
เฉลิมพล จตุพร
[email protected]
[email protected]
Keywords: การตัดสินใจเลือกซื้อ รถยนต์ไฟฟ้าประเภทแบตเตอรี่ แบบจำลองโลจิต
Purchase Decisions
Battery Electric Vehicles
Logit Model
Issue Date:  6
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: This research aims to (1) study the personal information of people in Bangkok who are interested in or who are using battery electric vehicles (BEVs)        (2) examine related to the behavior of using BEVs, including technology acceptance, marketing mix, government policy, and knowledge about BEVs, and (3) analyze the factors influencing the decision to purchase battery electric vehicles.The researcher studied consumers aged 18 and above who are interested in or who are using BEVs in Bangkok. The sample size was set at 385 participants, but a total of 400 samples were collected. Data was gathered through online questionnaires and analyzed using a logistic model.The result showed that (1) Most samples were female, aged 34.55 on average, had an average family size of four, and 63.75% held at least a bachelor's degree. Their average income and debt were 39,639.34 THB and 12,430.21 THB.  (2) Most used electric vehicles in urban. Product features were the most important marketing mix factor, government policies were rated highly, and respondents scored an average of 7.37 on a knowledge test. (3) Positive influences on BEV purchase included perceived noise reduction, maintenance ease, and knowledge, while negative factors included monthly income and subsidies.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชนใน เขตกรุงเทพมหานครที่มีความสนใจหรือใช้รถยนต์ไฟฟ้า ประเภทแบตเตอรี่ (2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้รถยนต์ไฟฟ้า การยอมรับเทคโนโลยี ส่วนประสมทางการตลาด นโยบายภาครัฐ และความรู้เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้า ประเภทแบตเตอรี่ และ (3) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ เลือกซื้อรถยนต์ไฟฟ้า ประเภทแบตเตอรี่ผู้วิจัยศึกษาผู้บริโภคอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่มีความสนใจหรือใช้รถยนต์ไฟฟ้า ประเภทแบตเตอรี่ในเขตกรุงเทพมหานคร และกำหนดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 385 ตัวอย่าง แต่เก็บตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 400 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองโลจิตผลการศึกษา พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 34.55 ปี          มีสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 4 คน การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 63.75 รายได้เฉลี่ย 39,639.34 บาทต่อเดือน หนี้สินเฉลี่ย 12,430.21 บาทต่อเดือน (2) พฤติกรรมส่วนใหญ่ใช้รถยนต์ไฟฟ้าสำหรับวิ่งในเมือง ส่วนประสมทางการตลาดให้ความสำคัญกับด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุด นโยบายภาครัฐให้ความสำคัญในระดับมาก และแบบทดสอบความรู้ได้คะแนนเฉลี่ย 7.37 คะแนน และ (3) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ไฟฟ้าประเภทแบตเตอรี่ ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ในการไร้เสียงรบกวน ความสะดวกในการบำรุงรักษาได้ง่าย และปัจจัยด้านความรู้ และปัจจัยที่ส่งผลเชิงลบ ได้แก่ รายได้ต่อเดือนและการให้เงินอุดหนุน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13739
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2656000326.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.