กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13749
ชื่อเรื่อง: The Effects of Resilience Enhancement Program with LINE Application on Resilience and Psychological Distress in Schizophrenia Patients’s Caregivers
ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตร่วมกับแอปพลิเคชั่นไลน์ต่อความเข้มแข็งทางใจและภาวะกดดันด้านจิตใจของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: AMONRAT KAIKAEW
อมรรัตน์ ไก่แก้ว
Duangkamol Pinchaleaw
ดวงกมล ปิ่นเฉลียว
Sukhothai Thammathirat Open University
Duangkamol Pinchaleaw
ดวงกมล ปิ่นเฉลียว
[email protected]
[email protected]
คำสำคัญ: ความเข้มแข็งทางใจ ภาวะกดดันด้านจิตใจ ผู้ดูแล ผู้ป่วยโรคจิตเภท
Resilience
Psychological distress
Patients with schizophrenia Caregivers
วันที่เผยแพร่:  9
สำนักพิมพ์: Sukhothai Thammathirat Open University
บทคัดย่อ: The purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of resilience enhancing program with LINE application on resilience and psychological distress in caregivers of patients with schizophrenia. The sample consisted of 44 caregivers of patients with schizophrenia who had been diagnosed by a psychiatrist as schizophrenia, and they were divided into the experimental group (22) and the comparative group (22). They were selected by the simple random sampling. The research instruments included: 1) the resilience enhancing program with LINE application, which was developed based on the resilience concept of Grotberg (1995), the duration of the program was 5 weeks. The activities comprised: (1) enhancing external support (2) enhancing inner strengths (3) enhancing abilities and 2) the resilience and psychological distress assessment forms. The reliabilities of these two assessment forms were .71 and .87 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics and t- test.The results revealed as follows. After attending the program, resilience of the experimental group was significantly higher than before attending the program and higher than the comparative group
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตร่วมกับแอปพลิเคชันไลน์ต่อความเข้มแข็งทางใจ และภาวะกดดันด้านจิตใจของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลหลักที่ทำหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท ที่ได้รับการวินิจฉัยจากจิตแพทย์ว่า เป็นโรคจิตเภท จำนวน 44 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 22 คน โดยสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตร่วมกับแอปพลิเคชันไลน์ โดยประยุกต์จากแนวคิดความเข้มแข็งทางใจของกรอทเบิร์ก (1995) มีระยะเวลา 5 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วย (1) การส่งเสริมแหล่งสนับสนุนภายนอก (2) กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งภายใน (3) กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถ และ 2) แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจและภาวะกดดันด้านจิตใจ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.71 และ 0.87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรม ความเข้มแข็งทางใจของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และมีภาวะกดดันด้านจิตใจ ลดลงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13749
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2615100027.pdf5.87 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น