Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHANYALUK SAENCHAIen
dc.contributorธัญลักษณ์ แสนชัยth
dc.contributor.advisorChureerat Nilchantuken
dc.contributor.advisorจุรีรัตน์ นิลจันทึกth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-29T08:08:14Z-
dc.date.available2025-01-29T08:08:14Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued27/1/2025
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13850-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare students' self-awareness before and after using a guidance activities package based on existential theory to develop self-awareness, and 2) to compare the self-awareness of students who used the guidance activities package based on existential theory to develop self-awareness with those who received traditional guidance.The research sample consisted of 64 students from Grade 9 at Rattanakosin Somphot Ladkrabang School, Bangkok. During the first semester of the 2024 academic year, the students in 13 classrooms in Grade 9 were measured the self-awareness. The 2 classrooms which had the lowest average self-awareness scores were then selected and paired. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group. The employed research instruments were 1) a self-awareness assessment tool 2) a set of guidance activity package based on existential theory to develop self-awareness of grade 9 students, consisting of 12 activities and 3) traditional guidance activities. The Statistics used for data analysis included mean, standard deviation and t-test.The research findings revealed that 1) the use of guidance activities package based on existential theory to develop self-awareness resulted in a significant increase in the students' average self-awareness scores, which were higher than before the experimental at .01 level of statistical significance, and 2) the average self-awareness scores of students who used the guidance activities package based on existential theory to develop the self-knowledge were significantly higher than those who received traditional guidance at the .01 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีอัตถิภาวนิยมเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง และ 2) เปรียบเทียบการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีอัตถิภาวนิยมเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองกับนักเรียนที่ได้รับการแนะแนวแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 จำนวน 64 คน ได้มาจากการวัดการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียน จากนักเรียนจำนวน 13 ห้องเรียน แล้วเปรียบเทียบจับคู่ห้องเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยการตระหนักรู้ในตนเองน้อยที่สุด 2 ห้องเรียน จากนั้นสุ่มอย่างง่ายเพื่อเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดการตระหนักรู้ในตนเอง 2) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีอัตถิภาวนิยมเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 12 กิจกรรม และ 3) การแนะแนวแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที  ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีอัตถิภาวนิยมนักเรียนมีคะแนนการตระหนักรู้ในตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีอัตถิภาวนิยมเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการตระหนักรู้ในตนเองสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการแนะแนวแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectชุดกิจกรรมแนะแนว ทฤษฎีอัตถิภาวนิยม การตระหนักรู้ในตนเอง มัธยมศึกษาth
dc.subjectGuidance activities packageen
dc.subjectExistential theoryen
dc.subjectSelf-awarenessen
dc.subjectMathayom Suksaen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effects of Using a Guidance Activities Package Based on the Existential Theory to Develop Self-awareness of Grade 9 Students at Rattanakosin Somphot Ladkrabang School in Bangkoken
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามทฤษฎีอัตถิภาวนิยมเพื่อพัฒนา ความตระหนักรู้ในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง  กรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChureerat Nilchantuken
dc.contributor.coadvisorจุรีรัตน์ นิลจันทึกth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Guidance and Psychological Counseling (M.Ed. (Guidance and Psychological Counseling))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Guidance and Psychological Counseling)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2652800067.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.