Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัคเดช มโนลีหกุลth_TH
dc.contributor.authorกฤษฎา วังซ้ายth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-29T08:09:58Z-
dc.date.available2025-01-29T08:09:58Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13855en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีทางกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมของข้าราชการไทย (2) ศึกษาปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมของข้าราชการในประเทศไทย (3) ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมระหว่างประเทศไทย สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐสิงคโปร์ และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (4) ผู้ศึกษาจึงเห็นควรเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับประเทศไทยในการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมของข้าราชการไทยการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร จากตัวบทกฎหมาย หนังสือ ตำรา วารสาร งานวิจัย บทความและเอกสารวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมของข้าราชการผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดทางกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ของการพิจารณาการขัดกันเอาไว้ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ 2003 ที่ส่งเสริมและเสริมสร้างมาตรการในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น (2) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ได้บัญญัติเรื่องของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งยังเกิดปัญหาในการบังคับใช้ในเรื่องของการตีความและหลักเกณฑ์ในการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของคู่สมรสและการให้ตามประเพณี (3) การเปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมระหว่างประเทศไทย และสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐสิงคโปร์ และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนพบว่า ประเทศไทยควรมีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายโดยนำเอาแนวคิดของสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐสิงคโปร์ และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนมาปรับใช้ในเรื่องการกำหนดเกณฑ์การให้และรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของข้าราชการ (4) เสนอแนะให้มีการออกประกาศ เรื่อง หลักเกณฑ์การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม พ.ศ. 2567 โดยกำหนดหลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดตามประเพณีของเจ้าพนักงานของรัฐ และผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรสอันถือว่าเป็นคู่สมรสเพื่อเป็นหลักเกณฑ์และแนวทางในการตีความเรื่องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวในประเทศไทยต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการขัดกันแห่งผลประโยชน์th_TH
dc.subjectกฎหมายผลประโยชน์สาธารณะth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมของข้าราชการไทยth_TH
dc.title.alternativeLegal issues regarding conflicts between personal and public interests of Thai Civil Servantsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to (1) study the concepts and legal theories regarding the conflict between personal and public interests of Thai civil servants; (2) analyze the legal problems regarding the conflicts between personal and public interests of civil servants in Thailand; (3) compare the laws on conflicts between personal and public interests in Thailand, the Republic of Korea, the Republic of Singapore and the Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China; and (4) propose appropriate solutions for Thailand to resolve legal problems related to conflicts between personal and public interests of Thai civil servants.This independent study is a qualitative research based on document analysis, including legal texts, books, journals, research papers, articles, and other academic documents related to legal issues concerning conflicts between personal and public interests of civil servants. The study found that (1) the legal concept of conflicts between personal and public interests has established criteria based on the United Nations Convention Against Corruption (2003), which promotes and strengthens measures to prevent and combat corruption effectively and efficiently; (2) the Organic Act on Prevention and Suppression of Corruption B.E. 2561 addresses conflicts between personal and public interests but still faces enforcement issues, particularly regarding the interpretation of rules and criteria for receiving assets or benefits by spouses and traditional practices; (3) after comparing the laws on conflicts between personal and public interests in Thailand, the Republic of Korea, the Republic of Singapore, and the Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China, it is recommended that Thailand amend its legal provisions by adopting concepts from these jurisdictions, particularly in setting criteria for giving and receiving property or other benefits; (4) it is suggested to issue an announcement on the criteria for conflicts between personal and public interests, B.E. 2567, specifying the criteria for government officials and those living together as de facto spouses without a registered marriage to receive assets or benefits according to traditional practices, which could be considered as having legal status as spouses. This announcement would serve as a guideline for interpreting conflicts between personal and public interests and improving the efficiency of law enforcement in Thailand.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2644000966.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.