Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13886
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลก | th_TH |
dc.contributor.author | อรณัชชา ชาญเชาว์, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-30T07:08:58Z | - |
dc.date.available | 2025-01-30T07:08:58Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13886 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถด้านตัวเลขนิสัยการเรียน และเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ กับความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพร และ 2) สร้างสมการพยากรณ์ความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพร กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จำนวน 120 คน กำหนดขนาดโดยใช้โปรแกรม G* Power 3.1 และสุ่มแบบแบ่งชั้นตามโปรแกรมการเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านตัวเลข แบบสอบถามนิสัย การเรียน แบบวัดเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทำนายทั้ง 3 ตัวแปร คือ ความสามารถด้านตัวเลข เจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ และนิสัยการเรียน กับตัวแปรตาม คือ ความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ รวม 3 คู่ พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แต่ละคู่มีค่าอยู่ที่ .592 .510 และ .435 ตามลำดับ แสดงว่า ตัวแปรแต่ละคู่ มีความสัมพันธ์ทางบวก ขนาดความสัมพันธ์สูง และมีอยู่จริงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่า ตัวแปรความสามารถด้านตัวเลข เจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ และนิสัยการเรียนร่วมกันอธิบายความแปรปรวนในตัวแปรความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ ได้เท่ากับ 42.3% โดยสมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐานเพื่อพยากรณ์ความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความสามารถทางคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ชุมพร | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting mathematical literacy of grade 9 studentsat Saard Phaderm Wittaya School in Chumphon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the relationship between the numerical ability; study habits and attitude towards learning mathematics with the mathematical literacy of grade 9 students at Saard Phaderm Wittaya School, Chumphon province and 2) to create equations to predict mathematical literacy of grade 9 students at Saard Phaderm Wittaya School, Chumphon province. The population consisted of 120 grade 9 students of Saard Phaderm Wittaya School, Chumphon province during the fist semester of the 2020 academic year, obtained by stratified random sampling using a learning program. The sample size was determined using the G* Power 3.1 program. The employed research instruments consisted of a numerical ability test, a study habit questionnaire, a questionnaires on attitude towards learning mathematics, and a mathematical literacy test. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, correlation, and multiple regression analysis. The research results are as follows: 1 ) the correlation coefficient between the three predictor variables, namely numerical ability, attitude towards learning mathematics and study habits and the dependent variable is mathematical literacy, a totally of 3 pairs were found that the correlation coefficients for each pair were .592, .510 and .435 respectively. This shows that the two variables in each pair are existed, positively and high correlation at statistical significance at the .01 level; and 2) the result of the multiple regression analysis found that numerical ability variable attitude towards learning mathematics and study habits together explained the variance in the mathematical literacy variable, equal to 42.3%. The standard score regression equation for predicting mathematical literacy grade 9 students at Saard Phaderm Wittaya School, Chumphon province can be written in the form | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วินิจ เทือกทอง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License