Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13889
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา บัวเกิด | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริพร แสงสึก, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-31T01:53:40Z | - |
dc.date.available | 2025-01-31T01:53:40Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13889 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พี และ (2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอ่าวลึก-ประชาสรรค์ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พี (2) แบบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ และ (3) แบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า (1) ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเขียน--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--กระบี่ | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการเขียนสรุปความและความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยกลวิธีอาร์ อี เอ พี ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอ่าวลึกประชาสรรค์ จังหวัดกระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of learning management with the use of REAP strategy on conclusion writhing ability and satisfaction with learning with the use of REAP strategy of Mathayom Suksa III students at Ao - Luk Prachasan School in Krabi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare conclusion writing ability of Mathayom Suksa III students at Ao – Luk Prachasan School before and after learning through the learning management with REAP strategy and (2) to study the students’ satisfaction with learning with the use of REAP strategy. The sample comprised 40 Mathayom Suksa III students of Ao – Luk Prachasan School, Krabi Province during the second semester of the academic year 2021, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments included (1) learning management plans using REAP Strategy activities, (2) a conclusion writing ability test, and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with learning with the use of REAP strategy. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings were as follows: (1) the students’ post-learning conclusion writing ability was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of significance, and (2) the student’s overall satisfaction with learning with the use of REAP strategy was at the highest level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุภมาส อังศุโชติ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License