Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13921
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พงษ์สิทธิ์ อรุณรัตนากุล | th_TH |
dc.contributor.author | รตานรี แก้วจรูญ, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-04-02T04:09:26Z | - |
dc.date.available | 2025-04-02T04:09:26Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13921 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาหลักการดำเนินคดีอาญาในความผิดต่อส่วนตัวและหลักการสอบสวนคดีอาญา (2) ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายของประเทศไทยกับกฎหมายของประเทศอินเดีย และสหพันธรัฐเยอรมัน (3) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิเสธไม่รับคำร้องทุกข์นอกเขตอำนาจการสอบสวนของพนักงานสอบสวน (4) เสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปฏิเสธไม่รับคำร้องทุกข์นอกเขตอำนาจการสอบสวน การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้เป็นการวิจัยคุณภาพโดยการวิจัยเอกสาร จากการศึกษาวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี กฎหมายที่เกี่ยวข้องจากตำรากฎหมาย บทความ วิทยานิพนธ์ วารสารทางวิชาการ รายงานวิจัย และฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศ โดยนำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการเสนอแนะแก้ไขปัญหาการปฏิเสธไม่รับคำร้องทุกข์นอกเขตอำนาจการสอบสวน ผลการศึกษาพบว่า (1) การดำเนินคดีอาญาในความผิดต่อส่วนตัว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กำหนดให้ผู้เสียหายจะต้องร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน การร้องทุกข์จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้พนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนและพนักงานอัยการมีอำนาจฟ้องคดีต่อศาล อันเป็นการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ (2) การร้องทุกข์ตามกฎหมายไทยยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องเขตอำนาจหน้าที่ในการรับคำร้องทุกข์ของพนักงานสอบสวน เปรียบเทียบกับสหพันธรัฐเยอรมันที่กำหนดให้ผู้เสียหายสามารถร้องทุกข์ต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจและพนักงานอัยการได้โดยทั่วไปไม่จำกัดเรื่องเขตอำนาจการสอบสวน และประเทศอินเดียผู้เสียหายสามารถร้องทุกข์ต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจทางโทรศัพท์และทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ (3) การปฏิเสธไม่รับคำร้องทุกข์นอกเขตอำนาจการสอบสวนมีสาเหตุมาจากบทบัญญัติกฎหมายที่ไม่ชัดเจน มีช่องว่างให้พนักงานสอบสวนสามารถใช้ดุลพินิจได้โดยมิชอบ กล่าวคือ พนักงานสอบสวนอาจปฏิเสธไม่รับคำร้องทุกข์นอกเขตอำนาจการสอบสวน (4) เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการประกันสิทธิในการริเริ่มดำเนินคดีอาญาของผู้เสียหายให้ทั่วถึงและเป็นธรรม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความอาญา) | th_TH |
dc.subject | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดต่อบุคคล) | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การดำเนินคดีอาญาในความผิดต่อส่วนตัวศึกษาเฉพาะการปฏิเสธไม่รับคำร้องทุกข์นอกเขตอำนาจการสอบสวน | th_TH |
dc.title.alternative | Criminal prosecution for personal offenses studying in case of the refusal to accept a petition outside the jurisdiction | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aims (1) to study the concept of criminal prosecution theory, criminal prosecution for personal offenses principle and criminal investigation principle (2) to compare Thai laws with Indian laws and German laws (3) to analyse legal issues related to refusing to accept a petition outside the jurisdiction of the inquiry officer (4) to suggest solutions for refusing to accept complaints outside the jurisdiction of investigation. This study is qualitative research from documentative research by systematic analysing of notions, theories, and related laws from legal textbooks, articles, thesis, academic journals, research reports and electronic databases both in Thailand and abroad so that to be used as a guideline to suggest solutions to the refusal to accept a complaint outside the investigation jurisdiction. The result of the study found that (1) the criminal prosecution of personal offences according to the criminal procedure code indicated that a victim must accuse a criminal complaint to an inquiry officer, the petition is a significant condition that authorises the officer and the public attorney to sue the case to the court, which is a criminal prosecution by the state (2) criminal complaint in accordance with Thai laws lacks of transparency in investigation jurisdiction of the inquiry officer by comparing with German laws that allow victims to complain their case to the inquiry officer and the public attorney generally not limited to investigative jurisdiction and Indian laws that authorise victims to complain to the police via telephone and electronics (3) the refusal of complaints outside investigation jurisdiction has caused unclear legal provisions, and there is a gap for the investigating officer to exercise his/her discretion improperly in refusing to accept a petition outside the jurisdiction of the investigation (4) to resolve these regard issues, it is expedient to amend the criminal procedure law to be more transparent in order to ensure the rights in initiating criminal prosecution of victims thoroughly and fairly. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License