Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1414
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินาฎ ลีดส์ | th_TH |
dc.contributor.author | จักรพงษ์ โฉมปราชญ์, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-03T04:31:17Z | - |
dc.date.available | 2022-09-03T04:31:17Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1414 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่อง การเข้าสู่กระบวนการล้มละลายโดยสมัครใจของลูกหนี้ที่เป็นบุคคลธรรมดามีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิวัฒนาการ แนวคิด ทฤษฎี ของกฎหมายล้มละลายเกี่ยวกับการเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย โดยค้นหาสภาพปัญหาที่ลูกหนี้ไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการล้มละลายได้โดยสมัครใจและเปรียบเทียบหลักกฎหมายล้มละลายของไทยกับหลักกฎหมายล้มละลายของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษและแนวทางการร่างกฎหมายล้มละลายของ UNCITRAL ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย โดยนำมาวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมาย และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในกรณีที่ลูกหนี้ไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการล้มละลายได้โดยสมัครใจในประเทศไทย เพื่อหาข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงหลักกฎหมายล้มละลายเรื่องการเข้าสู่กระบวนการล้มละลายให้เป็นไปอย่างเหมาะสมกับประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยเอกสาร โดยทำการค้นคว้า รวบรวม เอกสารภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ จากตำรา หนังสือ ข้อมูล วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง บทความต่างๆ คดีล้มละลายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความเห็นของนักนิติศาสตร์ กฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ที่เกี่ยวข้อง และจากทางอินเตอร์เน็ต เพื่อศึกษาการเข้าสู่กระบวนการล้มละลายและหาความสำคัญของการเข้าสู่กระบวนการล้มละลายโดยสมัครใจ รวมทั้งการศึกษาวิเศราะห์เปรียบเทียบ หลักกฎหมาย ของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และแนวทางการร่างกฎหมายล้มละลายของ UNCITRAL ที่เกี่ยวกับการเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย จากการศึกษาพบว่าการประสบปัญหาทางการเงินจนอยู่ในสภาวะล้มละลายของบุคคลธรรมดามีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ กฎหมายล้มละลายจึงต้องการให้ลูกหนี้สามารถเข้าถึงการเยียวยาของกระบวนการล้มละลายได้โดยเร็วเช่นเดียวกับเจ้าหนี้ เพื่อให้เป็นไปตามแนวคิดที่ต้องการช่วยเหลือลูกหนี้ที่สุจริตแต่ประสบแคราะห์ร้ายทางการเงิน ให้สามารถกลับมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ได้อีกครั้ง โดยแนวคิดดังกล่าวได้ให้ความสำคัญกับกระบวนการเริ่มต้นคดีโดยเปิดโอกาสให้ลูกหนี้สามารถเข้าสู่กระบวนการได้โดยสมัครใจหากลูกหนี้นั้นประสบปัญหาทางการเงินจนไม่สามารถจัดการกับหนี้สินนั้นได้ เพื่อให้ลูกหนี้ได้รับการเยียวยาจากกระบวนการล้มละลายไม่ว่าด้วยกระบวนการฟื้นฟูหรือกระบวนการชำระบัญชี และให้ลูกหนี้หลุดพันจากภาระหนี้สินนั้นไปได้โดยเร็วโดยมีการกำหนดมาตรการเพื่อควบคุมและป้องกันลูกหนี้ให้ไม่สามารถอาศัยกระบวนการทางกฎหมายโดยมิชอบจากกฎหมายล้มละลายดังกล่าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.445 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ล้มละลาย | th_TH |
dc.subject | การกู้ยืมส่วนบุคคล | th_TH |
dc.subject | หนี้ | th_TH |
dc.title | การเข้าสู่กระบวนการล้มละลายโดยสมัครใจของลูกหนี้ที่เป็นบุคคลธรรมดา | th_TH |
dc.title.alternative | Entering into voluntary bankruptcy process of the natural person debtor | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.445 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.445 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims to study the revolution, concept, and theories in respect of entering to voluntary bankruptcy processes by searching the conditions and problems causing debtors to be unable to enter into the voluntary bankruptcy process, and to compare the principles of the Thai bankruptcy law with US and UK bankruptcy law principles and bankruptcy law drafting guidelines of The United Nations Commission on International Trade Law relating to entering into bankruptcy process by using them in analyzing the legal problems and obstacles arising from the fact that the debtors could not enter into the voluntary bankruptcy processes in Thailand so as to find recommendations for improving the principles of the Thai bankruptcy law on the subject of entering into bankruptcy processes suitable for Thailand. This thesis is a qualitative research conducted used on the documentary research by researching and compiling the documents, both in Thai and foreign languages, from the relevant textbooks, books, data, and theses; the articles of the bankruptcy cases; the related researches; the relating opinions expressed by jurists, laws, rules, regulations, rules, and notifications; and the internet, so as to study entering into bankruptcy processes and to find the importance of entering into voluntary bankruptcy processes, including to study, analyze, and compare principles of the US and UK Laws, and bankruptcy law drafting guidelines of UNCITRAL in relation to entering into bankruptcy processes. According to the study, the financial problem to the natural person which led to bankruptcy were essential to the economic development of the country;therefore, the bankruptcy law required the debtors to be able to be remedied by the bankruptcy processes as rapidly as the creditors. In accordance with the concept to assist the honest debtors but were encountered with financial misfortune in recovering their new lives, such concept emphasized the case beginning processes by giving opportunity to the debtors to enter to the voluntary bankruptcy processes, if such debtors were faced with financial problems to the extent that they could not manage their own debts, in order for the debtors to be remedied by the bankruptcy process, irrespective of rehabilitation process or liquidation process, and in order for the debtors to relieve from debt burdens in a swift manner by determining the measures to control and prevent the debtors from exploiting the illegal processes from such bankruptcy laws. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ธนวัฒน์ เนติโพธิ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140595.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License