Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรณี ไชยวรรณ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-12T08:48:49Z-
dc.date.available2022-09-12T08:48:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1463-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร (2) ความรู้ของเกษตรกรเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร (4) สภาพและความต้องการการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหาร (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรร้อยละ 63.1 เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 53 ปี ร้อยละ 4.1 จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 3 ราย รายได้ครัวเรือนต่อปีเฉลี่ย 136,110.22 บาท รายจ่ายครัวเรือน ต่อปีเฉลี่ย 98,156.20 บาท (2) เกษตรมีความรู้เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก โดยเกษตรกรจำนวนมากที่สุด ร้อยละ 97.4 มีความรู้ในประเด็นการช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรป่า ดิน และน้ำ เป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นในชุมชน เกษตรกรจำนวนน้อยที่สุดร้อยละ 69 มีความรู้ในประเด็นการปลูกพืชหลากหลายชนิด อาจเป็นพืชพลังงานมากกว่าพืชอาหาร ส่งผลให้ความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือนลดลง (3) เกษตรกรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารภาพรวมทั้งในช่วงปี พ.ศ. 2551-2561 อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งต่างจากในปีปัจจุบัน พ.ศ. 2562 ที่มีความมั่นคงอาหารในระดับมาก ทั้ง 4 มิติ ได้แก่ การมีอาหารเพียงพอการเข้าถึงอาหาร การใช้ประโยชน์จากอาหาร และการมีเสถียรภาพด้านอาหาร (4) เกษตรกรมีความต้องการความรู้เรื่องความมั่นคงทางอาหารในระดับปานกลาง เกษตรได้รับการส่งเสริมแบบรายบุคคล แบบกลุ่ม แบบมวลชล และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับปานกลาง (5) เกษตรกรมีปัญหาการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารในด้านเจ้าหน้าที่ ด้านเนื้อหาความรู้ ความมั่นคง ทางอาหาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความมั่นคงทางอาหาร--ไทยth_TH
dc.titleการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารของชุมชนตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeExtension of food security by farmers in Ko Rang Sub-District, Chai Badan District, Lop Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_162594.pdfเอกสาณฉบับเต็ม2.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons