Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1473
Title: การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกิจกรรมวิสาหกิจชุมชนในอำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
Other Titles: The member participation in activities of community enterprises in Song Phi Nong District of Suphan Buri Province
Authors: จินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา
ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา
สุภัท สุขสุคนธ์, 2525-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์
วิสาหกิจชุมชน--ไทย--สุพรรณบุรี
วิสาหกิจชุมชน--ไทย--การมีส่วนร่วมของประชาชน
Issue Date: 2555
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพพื้นฐานทางสังคม และเศรษฐกิจของสมาชิก กลุ่มระดับดี สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิงอายุเฉลี่ย 42.8 ปื ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาการเป็นสมาชิกเฉลี่ย 4.2 ปี ความถี่ในการเข้าร่วมกิจกรรมเดือนละ5-6ครั้ง สมาชิกร้อยละ38.6ประกอบอาชีพทำการเกษตรมีรายได้หลักเฉลี่ย 269,062.5 บาท/ปี/ครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.3 ราย แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 1.9 ราย มีจำนวนหุ้นเฉลี่ย 5.1 หุ้น รายได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม 31,225.5 บาท/ปื กลุ่มระดับปานกลาง สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 42.9 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาการเป็นสมาชิกเฉลี่ย 4.1 ปี ความลิ่ในการเข้าร่วมกิจกรรมเดือนละ 3-4 ครั้ง สมาชิกร้อยละ 38.1 ประกอบอาชีพทำการเกษตรมีรายได้หลักเฉลี่ย248,511.4 บาท/ปี/ครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน3.3รายแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 1.8 ราย มีจำนวนหุ้นเฉลี่ย 5.3 หุ้น รายไต้จากการเข้าร่วมกิจกรรม29,279.3 บาท/ปี กลุ่มระดับปรับปรุงสมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 44.5 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ระยะเวลาการเป็นสมาชิกเฉลี่ย 2.8 ปีความถี่ในการเข้าร่วมกิจกรรมเดือนละ 3-4ครั้ง สมาชิกร้อยละ 59.4ประกอบอาชีพทำการเกษตรมีรายได้หลักเฉลี่ย243,467.7 บาท/ปี/ครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย2.7รายแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 1.7 รายมีจำนวนหุ้นเฉลี่ย5.1 หุ้น รายได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม 26,830.6 บาทต่อปื (2) ระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน กลุ่มระดับดี สมาชิกมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก 3 กิจกรรม เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการตลาด การผลิต และการเงิน และมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง 1 กิจกรรม ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ กลุ่มระดับปานกลาง สมาชิกมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การผลิต การตลาด การเงิน และการบริหารชัดการ กลุ่มระดับปรับปรุง ระบุว่ามีสมาชิกไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเงิน การผลิต การบริหารจัดการ และการตลาด มีสมาชิกที่ฆีส่วนร่วมในกิจกรรมอยู่ในระดับน้อย เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การผลิต ด้านการตลาดการเงิน และการบริหารขัดการ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน พบว่าสมาชิกมีปัญหาในเรื่องการดำเนินงานไม่ชัดเจน คณะกรรมการขาดความกระตือรึอร้นในการบริหารงานให้สำเร็จ สมาชิกไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการเป็นสมาชิกกลุ่ม การไม่มีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏีบตงานของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ยังไม่ได้รับเครื่องหมายรับรองคุณภาพ ขาดความรู้ในการวางแผนการตลาด เงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มไม่เพียงพอ และขาดการประชาสัมพันธ์ ดังนั้น สมาชิกวิสาหกิจชุมชนส่วนใหญ่ เสนอแนะว่าควรมีการอบรมให้ความร้ในการวางแผนการดำเนินงานกลุ่ม การผลิต การตลาด และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีนใยบายที่ชัดเจนในการสนับสบุนส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอย่างต่อเนื่อง
Description: วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1473
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130703.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons