Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพรรณ ศรีเสาวลักษณ์th_TH
dc.contributor.authorนิธิตา เร้าเลิศฤทธิ์, 2535-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-14T04:16:26Z-
dc.date.available2022-09-14T04:16:26Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1494-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินมูลค่าจากการใช้ทางตรงของป่าชายเลนด้านการ ประมง 2) วิเคราะห์ตัวแปรที่มีผลต่อปริมาณการผลิตและรายได้สุทธิของชาวประมงที่อาศัยพึ่งพาป่าชายเลน วิธีการศึกษาคือการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ชาวประมงพื้นบ้านรวมทั้งหมด 135 ราย ซึ่งประกอบด้วยชาวประมงในตำบลคลองโคน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งเป็นตัวแทน ของพื้นที่ที่มีป่าชายเลนอุดมสมบูรณ์ ตำบลบางแกวซึ่งเป็นตัวแทนของพื้นที่ป่าชายเลนเสื่อมโทรแต่มีการ ปลูกเสริมบางส่วน และตำบลบางจะเกร็งซึ่งเป็นตัวแทนของพื้นที่ป่าชายเลนเสื่อมโทรม ในจังหวัด สมุทรสงคราม ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นำมาวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลองฟังก์ชันการผลิต (Production Function) และแบบจำลองฟังกชันกำไร (Profit Function) โดยแบ่งสัตว์น้ำที่จับได้แบ่งเป็น 2 ประเภทตาม การดำรงชีวิตคือ 1) กลุ่มสัตว์น้ำที่ใช้ชีวิตตลอดวงจรชีวิตอยู่บริเวณป่าชายเลน และ 2) กลุ่มสัตว์น้ำที่อยู่ บริเวณป่าชายเลนในบางช่วงของวงจรชีวิต เพื่อแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสัตว์น้ำกับป่าชายเลน ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มสัตว์น้ำในกลุ่มแรก ส่วนใหญ่สามารถจับได้ในพื้นที่ป่าชายเลน และห่างจากชายฝั่งไม่เกิน 1.5 กิโลเมตร และกลุ่มสัตว์น้ำกลุ่มที่สอง สามารถจับในเขตทะเลเปิดหรือห่าง จากชายฝั่งประมาณ 1.5 กิโลเมตร 2) ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้ต่อครัวเรือนเฉลี่ย 48,053.04 กิโลกรัมต่อปี โดยตำบลที่มีปริมาณการจับน้อยที่สุดคือตำบลคลองโคนเฉลี่ย 9,386.20 กิโลกรัมต่อปี ตำบลบางจะเกร็ง จับได้เฉลี่ย 19,113.47 กิโลกรัมต่อปี และตำบลบางแกวมีปริมาณการจับมากที่สุดเฉลี่ย 19,533.37 กิโลกรัม ต่อปี 3) ยิ่งการจับสัตว์น้ำห่างจากชายฝั่งมากรายได้สุทธิของชาวประมงยิ่งสูงขึ้น ที่เป็นเช่นนี้เพราะสัตว์ น้ำที่จับได้ส่วนใหญ่เป็นสัตว์น้ำที่อยู่ในกลุ่มที่ 2 ซึ่งมักเป็นสัตว์น้ำที่มีราคาตลาดสูง โดยเปรียบเทียบแล้ว รายได้สุทธิในตำบลคลองโคนจึงต่ำแม้ว่าจะมีพื้นที่ป่าชายเลนที่สมบูรณ์เนื่องจากสัตว์น้ำที่จับได้ส่วนใหญ่ จะอยูในกลุ่มที่ 1 มีราคาในตลาดตำ่กว่า โดยรายได้ของตำบลคลองโคนอยูที่ ่ 200,000 บาทต่อปี เท่านั้น ซึ่ง เท่ากับรายได้สุทธิในตำบลบางแก้ว ส่วนชาวประมงในตำบลบางจะเกร็งที่มีรายได้เฉลี่ยสุทธิสูงกว่าคือ เท่ากับ 500,000 บาทต่อปี ทั้งนี้เนื่องจากสัตว์น้ำที่ชาวประมงในตำบลบางจะเกร็งจับส่วนใหญ่เป็น ประเภทสัตว์น้ำกลุ่มที่ 2 ที่มีราคาตลาดสูง อาทิ ปู กุ้ง กั้งและแมงดาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.66-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectป่าชายเลน--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.subjectป่าชายเลน--ไทย--สมุทรสงครามth_TH
dc.titleการวิเคราะห์มูลค่าเศรษฐกิจของระบบนิเวศป่าชายเลนในจังหวัดสมุทรสงครามth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of economic values of mangrove ecosystem in Samut Songkhram Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.66-
dc.degree.nameเศรษฐศาตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study are 1) to estimate the use value of mangroves in terms of benefit from fishing in Samut Songkhram province, 2) to analyse factors that determine the level of production and net income of the fishers who benefit from mangrove forests. The methodology used in this was to collect primary data from face-to-face interviews conducted with altogether 135 fishermen in Tambon Klong Kone, Muang District, Samut Songkhram province as representatives for areas where the mangroves are still in good condition, Tambon BangKaew where mangroves are degraded but there has been some reforestation, and Tambon Bangjakreng where mangroves are degraded but there has been no reforestation. Data was analysed by using production function and profit function. The analysis also tried to distinguish differences in income from two types of mangrove dependent species, namely those that spend their entire life cycle in the mangroves and those that rely on the mangroves only for some part of their life cycle as nursery grounds or habitats. Findings, based on information from the respondents are 1) catches of the first group, i.e. those that spend their entire life cycle in the mangroves are mostly within the mangrove area and not further than 1.5 kilometers from the coastline whereas catches of the second group vary although mostly the fishing location is beyong1.5 kilometers from the coastline, 2) average catch per household is 48,053.04 kg/year. This vary by Tambons from the lowest catch volume of 9,386.20 kg/year for Klong Kone, to 19,133.47 kg/year for respondents in Bangjakreng, to 19,533.37 kg/year for respondents in Bang Kaew; iii) the further the distance from the shore, the higher the net income. This is because most of the catches, mainly fishes, fetch higher market prices than cockles or shells which are usually caught in the mangroves or in near shore areas. This could partially explain why net revenue for respondents in Klong Kone is only 200,000 Baht/year despite this being an area where mangroves are in better condition. This is more or less the same as net revenue of respondents in Bang Kaew. Net revenue of fishermen in Bangjakreng is much higher and averages at 500,000 Baht/year. This is partly because the types of species caught by fishermen in this Tambon such as banana shrimps, swimming crabs, mangrove crabs, cray fishes and horseshoe crabs fetch high market pricesen_US
dc.contributor.coadvisorเรวดี จรุงรัตนาพงศ์th_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159690.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons