Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา วีรบุรีนนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสรายุทธ ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิลชนา โมพัดตามไท, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-15T02:39:51Z-
dc.date.available2022-09-15T02:39:51Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1519-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเนื้อหาเรื่องเล่านิทานชาดก 2) ศึกษาผลของการใช้นิทานชาดกในการสร้างสันติวัฒนธรรมในครอบครัวไทย 3) ศึกษาปัญหาในการสร้างสันติวัฒนธรรม ผ่านการเล่านิทานชาดก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้มี จํานวน 17 ครอบครัว เครื่องมือการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า 1) เรื่องเล่าชาดก มีเนื้อหาในการสร้างสันติวัฒนธรรม ในด้านการรู้จักการให้อภัยกัน การเคารพซึ่งกันและกัน การควบคุมความโกรธ การลดความรุนแรง มีความห่วงใยกัน 2) ผลของการใช้นิทานชาดกส่งผลให้ครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ภายใน ครอบครัวมากขึ้น กล่าวคือ ทําให้สมาชิกในครอบครัว เมื่อเกิดความขัดแย้งกัน ก็รู้จักการให้อภัยักนมากขึ้น มีความเคารพซึ่งกนและกันมากขึ้น ระหว่างคนต่างรุ่นและรุ่นเดียวกัน อีกทั้งทําให้สมาชิกในครอบครัวไม่แสดงอาการโกรธโมโหและลดความรุนแรง เมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือเกิดปัญหา ภายในครอบครัว ทําให้ครอบครัวมีความรักความห่วงใยกันมากขึ้น ก่อให้เกิดการสร้างสันติ วัฒนธรรมในครอบครัว 3) ปัญหาที่พบในการสร้างสันติวัฒนธรรม ผ่านนิทานชาดก คือประการแรก ในบางครอบครัวยังมีสมาชิกในครอบครัวที่อ่านหนังสือไม่ออก ประการที่สองกลุ่มตัวอยาง่ บางส่วนไม่สนใจที่จะฟังนิทาน ประการที่สาม คือผู้เล่านิทานยังไม่สามารถเล่านิทานให้น่าสนใจได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครอบครัว -- ไทยth_TH
dc.subjectสันติศึกษาth_TH
dc.subjectวรรณคดีพุทธศาสนาth_TH
dc.titleกระบวนการสร้างสันติธรรมในครอบครัวไทยผ่านการเล่านิทานชาดก : กรณีศึกษา ชุมชนตำบลต้นเปา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe process of building a culture of peace in Thai families using the Jataka tales : a case study of Ton Pao communities, Sankampaeng District, Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to 1) study and analyze the Jataka Tales, 2) study the result of using Jataka Tales in building a culture of peace in Thai families, 3) study the problems of building a culture of peace through the use of the Jataka Tales. The research methodology used was Action Research with 17 participating families. The research instruments used were interview forms and observation forms. The analysis of the data used the descriptive analysis method. The results of the research was 1) The Jataka Tales had content that helped build a culture of peace in the area of forgiveness, respect for one another, controlling anger, reducing violence and caring for each other. 2) Using the Jataka Tales showed significant changes in family relationships. In particular there were changes in a willingness to forgive, in mutual respect for each other between different generations, in controlling one’s anger, in lessening violent speech and behavior, and in showing love and care towards each other which led towards building a culture of peace in the families. 3) The problems found in using Jataka Tales to build a culture of peace were first, some family members could not read, secondly, some members of the test groups were not interested in listening to stories, and thirdly, the story-tellers did not know how to tell stories in an interesting and fun wayen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib156746.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons