Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินตนา ธนวิบูลย์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสามารถ วงศ์มติกุล, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-15T08:38:30Z-
dc.date.available2022-09-15T08:38:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1555-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการปฏิบัติตามบทบาทของพนักงานคุมประพฤติด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมประพฤติ (2) ระดับประสิทธิผลของการปฏิบัติตามบทบาทของพนักงานคุมประพฤติด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขฟื้นฟุเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมประพฤติ และ (3) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับบทบาทของพนักงานคุมประพฤติด้านส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมระพฤติ ผลการวิจัย พบว่า (1) พนักงานคุมประพฤติส่วนใหญ่มีระดับการปฏิบัติตามบทบาทด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยวชนที่ถูกคุมประพฤติ อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 55.1 (2) พนักงานคุมประพฤติส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิผลของการปฏิบัติตามบทบาทด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมประพฤติอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50.0 (3) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับบทบาทของพนักงานคุมประพฤติด้านการส่งเสริมครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมประพฤติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แบ่งเป็น 2 ประเด็น คือ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับการปฏิบัติตามบทบาทของพนักงานคุมประพฤติ ได้แก่ ประสบการณ์การปฏิบัติงานแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด ภารกิจงานที่รับผิดชอบ ปริมาณคดีที่รับผิดชอบ ทักษะการปฏิบัติงานคุมประพฤติเด็กและเยาวชน และเจตคติ่อลักษณะงานคุมประพฤติ และปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับประสิทธิผลของการปฏิบัติตามบทบาทของพนักงานคุมประพฤติ ได้แก่ เพศ ประสบการณ์การปฏิบัติงานแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด ภารกิจงานที่รับผิดชอบ ปริมาณคดีที่รับผิดชอบ ทักษะการปฏิบัติงานคุมประพฤติเด็กและเยาวชน และเจตคติต่อลักษณะงานคุมประพฤติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพนักงานคุมประพฤติth_TH
dc.subjectการคุมประพฤติ--การมีส่วนร่วมของบิดามารดาth_TH
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับบทบาทของพนักงานคุมประพฤติด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่ถูกคุมประพฤติth_TH
dc.title.alternativeFactors related to probation officers’ roles in promoting family participation towards solving and rehabilitating children and youth in probationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 160603.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons