Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวานริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวารี นิลจันทร์, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-16T02:34:48Z-
dc.date.available2022-09-16T02:34:48Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1560-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข2) การดาเนินงานในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข 3) การมีส่วนร่วมของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโขในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง และ 4) แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข ผลการศึกษา พบว่า 1) ข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 46.88 ปี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทา ประมง มีรายได้ทั้งหมดในครัวเรือนเฉลี่ย 111,862.75 บาทต่อปี ทั้งนี้สมาชิกกลุ่มพบปัญหาจา นวนสัตว์น้า ลดน้อยลง 2) การดา เนินงานของกลุ่ม พบว่า มีการ จดทะเบียนตามประกาศกรมประมง ภายใต้ชื่อ “กลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข” มีการจัดประชุมเวที ชาวบ้านเพื่อจัดทา แผนงานของกลุ่ม จา นวน 7 แผนงาน ได้แก่ การจัดทา แนวเขตอนุรักษ์สัตว์น้า การปล่อยพันธุ์สัตว์น้า การวางซั้งกอ ธนาคารปูม้า การปลูกป่ าชายเลน การเลี้ยงหอยแมลงภู่ และ การควบคุมเฝ้าระวังการทา การประมงผิดกฎหมาย 3) การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร ประมงชายฝั่ง พบว่า การมีส่วนร่วมในการศึกษาปัญหาการดาเนินงาน และการรับผลประโยชน์อยู่ ในระดับมากที่สุด และมีส่วนร่วมในการวางแผน และการติดตามผลในระดับมาก และ 4) แนวทาง การพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของกลุ่ม มี 2 แนวทาง คือ แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในระดับองค์กรและระดับกลุ่มth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจัดการเขตชายฝั่ง--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectการจัดการประมง--การมีส่วนร่วมของประชาชน.--ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectประมงป่าชายเลนth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง : กรณีศึกษากลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe participation in the coastal fisheries resource management : a case study of Ao Thong Khoe Conservation Group, Lang Suan District, Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158742.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons