กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1560
ชื่อเรื่อง: การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง : กรณีศึกษากลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The participation in the coastal fisheries resource management : a case study of Ao Thong Khoe Conservation Group, Lang Suan District, Chumphon Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษา
บำเพ็ญ เขียวหวานริ, อาจารย์ที่ปรึกษา
สุวารี นิลจันทร์, 2528-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์
การจัดการเขตชายฝั่ง--ไทย--ชุมพร
การจัดการประมง--การมีส่วนร่วมของประชาชน.--ไทย (ภาคใต้)
ประมงป่าชายเลน
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข2) การดาเนินงานในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข 3) การมีส่วนร่วมของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโขในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง และ 4) แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของกลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข ผลการศึกษา พบว่า 1) ข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 46.88 ปี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทา ประมง มีรายได้ทั้งหมดในครัวเรือนเฉลี่ย 111,862.75 บาทต่อปี ทั้งนี้สมาชิกกลุ่มพบปัญหาจา นวนสัตว์น้า ลดน้อยลง 2) การดา เนินงานของกลุ่ม พบว่า มีการ จดทะเบียนตามประกาศกรมประมง ภายใต้ชื่อ “กลุ่มอนุรักษ์อ่าวทองโข” มีการจัดประชุมเวที ชาวบ้านเพื่อจัดทา แผนงานของกลุ่ม จา นวน 7 แผนงาน ได้แก่ การจัดทา แนวเขตอนุรักษ์สัตว์น้า การปล่อยพันธุ์สัตว์น้า การวางซั้งกอ ธนาคารปูม้า การปลูกป่ าชายเลน การเลี้ยงหอยแมลงภู่ และ การควบคุมเฝ้าระวังการทา การประมงผิดกฎหมาย 3) การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร ประมงชายฝั่ง พบว่า การมีส่วนร่วมในการศึกษาปัญหาการดาเนินงาน และการรับผลประโยชน์อยู่ ในระดับมากที่สุด และมีส่วนร่วมในการวางแผน และการติดตามผลในระดับมาก และ 4) แนวทาง การพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของกลุ่ม มี 2 แนวทาง คือ แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในระดับองค์กรและระดับกลุ่ม
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1560
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
158742.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.8 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons