Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1589
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภาวดี ธีรธรรมากร | th_TH |
dc.contributor.author | พูลพิศ นามปั่น, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-17T03:23:23Z | - |
dc.date.available | 2022-09-17T03:23:23Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1589 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหาสาเหตุที่ทำให้เกิดหลอดเสียในกระบวนการบรรจุเครื่องสำอางด้วยเครื่องบรรจุหลอดบีบโดยใช้เครื่องมือคุณภาพ และ (2) ลดปัญหาหลอดเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการบรรจุเครื่องสำอางเมื่อปรับกระบวนการบรรจุของเครื่องบรรจุหลอดบีบ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองของเครื่องบรรจุหลอดบีบอัตโนมัติสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง หลอดบีบที่ใช้เป็นหลอดรี เนื่องจากพบจำนวนของเสียมากกว่ามาตรฐานที่กำหนดขั้นตอนการศึกษาประกอบด้วย การศึกษากระบวนการผลิตเครื่องสำอางโดยใช้หลัก 3 จริง เก็บรวบรวมข้อมูลของเสียโดยใช้แผ่นตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลของเสียเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยใช้แผนภูมิพาเร โต วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา ดำเนินการพิสูจน์สาเหตุโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาโดยการตั้งคำถาม 6 ข้อ (5W1H) และเทคนิคการออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลเต็มรูปแบบ สำหรับ 3 ปัจจัย (8 การทดลอง) และทำการทดลองซ้ำอีกครั้งรวม 16 การทดลอง เพื่อหาปัจจัยในการปรับตั้งเครื่องจักรที่ทำให้เกิดของเสียน้อยที่สุด ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุที่ทำให้เกิดของเสีย คือ ลักษณะปลายหลอด ความเร็วเครื่องบรรจุและรูปแบบการรองรับหลอด ก่อนการดำเนินการแก้ไขพบของเสียร้อยละ 2.14 ของจำนวนการผลิต ภายหลังจากการปรับกระบวนการบรรจุของเครื่องบรรจุหลอดบีบ ของเสียลดลงเหลือร้อยละ 0.09 ของจำนวนการผลิต นอกจากนี้การวิเคราะห์ค่าดัชนีวัดความสามารถของกระบวนการผลิตพบว่า ค่าดัชนีวัดศักยภาพของกระบวนการในระยะยาวและค่าดัชนีวัดสมรรถนะของกระบวนการในระยะยาวหลังการปรับปรุงมากกว่าก่อนการปรับปรุงแก้ไขและมีค่ามากกว่า 1 แสดงถึงความสามารถของกระบวนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตที่วัดได้หลังการปรับปรุงเพิ่มขึ้นอย่างมากถึงร้อยละ 71 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2019.5 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บรรจุภัณฑ์--การผลิต | th_TH |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง--มาตรฐาน | th_TH |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องบรรจุหลอดบีบสำหรับเครื่องสำอางโดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือคุณภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | Quality process improvement of cosmetic tube filling machine by applying QC tool | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2019.5 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2019.5 | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to (1) investigate the causes of waste tubes in cosmetic packaging using a tube filling machine by applying quality control tool and (2) reduce waste tubes occurring in cosmetic packaging processes when adjusting the filling process of the tube filling machine. This research is an experimental research of an automatic tube filling machine for cosmetic product. Cosmetic tube type used is oval tube due to the amount of waste found more than a standard specification. The study process consists of studying the process of manufacturing a cosmetic using 3 principles. Collecting waste data using a check sheet. Analyze waste data to prioritize problems by using the pareto chart. Analyze the root cause of the problem using the fishbone chart. Proven cause analysis using problem analysis techniques using 6 questions (5W1H) and full factorial design techniques for 3 factors (8 experiments) and repeated the experiment again, total 16 the experiment to find the factor in setting up the machine that causes the least waste The result of the research showed that the waste cause was the tube lip, filling machine speed, and tube support forms. Before the amendment process, the amount of production is found 2.14 percent. After adjusting the filling process of the lube filling machine, total waste was reduced to 0.09 percent. In addition, analyzing the capability index of the production process found that the index of long-term process potential ( Pp) and the index of long-term process performance (Ppk) after the improvement were greater than one which showed the capability of the production process to increase. In addition, the production process efficiency after improvement increased approximately 71 percent. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมบัติ ทีฆทรัพย์ | th_TH |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
164563.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License