Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorอังศุมา เที่ยงประเทศ, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-19T08:36:31Z-
dc.date.available2022-09-19T08:36:31Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1609en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การเปิดรับข่าวสารด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย (2) การรับรู้ข่าวสารด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย (3) ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย (4) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรกับภาพลักษณ์ ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทย และ (5) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสารกับภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยในมุมมองของชาวอเมริกัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนชาวอเมริกันที่อยู่ ในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย จํานวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือ การวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และ ค่าไคแสควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยเปิดรับข่าวสารการท่องเที่ยวประเทศไทยจากโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล เพื่อน ป้ายโฆษณา สื่ออินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊ก และกิจกรรมพิเศษต่าง ๆ เช่น นิทรรศการ มากที่สุด และรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว มากที่สุด (2) กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่มีการรับรู้ ข้อมูลการท่องเที่ยวประเทศไทยอยู่ในระดับปานกลาง (3) ภาพลักษณ์ ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยในมุมมองของ ชาวอเมริกันมลรัฐแคลิฟอร์เนีย โดยรวมอยูในระดับปานกลาง (4) ประชาชนชาวอเมริกน ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวแตกต่างกัน มีภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.01 และ (5) การรับรู้ข่าวสารของประชาชนชาวอเมริกัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว--ไทยth_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การ--การประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.titleภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวประเทศไทยในมุมมองของชาวอเมริกันth_TH
dc.title.alternativeImage of Thai tourism : an American perspectiveen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) exposure to news of tourism in Thailand; (2) awareness of tourism in Thailand; and (3) image of tourism in Thailand from the research sample’s view; and ( 4) to compare the samples’ demographics with their image of Thai tourism; and, lastly, (5) to study the relationship between exposure to news of tourism with image of tourism in Thailand. This was a survey research using questionnaire. The sample population was 400 American citizens living in California, chosen through multi-stage sampling. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and chi square. The results showed that (1) Most of the samples had been exposed to news of tourism in Thailand through cable TV, friends, billboards, the Internet, Facebook, and activities such as exhibitions, respectively. The news they were exposed to the most was information about tourist destinations in Thailand. (2) The majority of the samples had a medium level of awareness about tourism in Thailand. (3) Overall, the image of tourism in Thailand of the samples was at a medium level. (4) Differences in the demographic factors of sex, age, educational level, occupation, and tourism objective were correlated to differences in image of tourism in Thailand to a statistically significant degree at 0.01 confidence level. (5) Level of exposure to news of tourism in Thailand was positively correlated to image of tourism in Thailand in the view of Americans to a statistically significant degree at 0.01 confidence levelen_US
dc.contributor.coadvisorสันทัด ทองรินทร์th_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib161788.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons