Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยฉัตร ล้อมชวการ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกมลรัฐ อินทรทัศน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกวลิน หอมหวล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-20T01:40:12Z-
dc.date.available2022-09-20T01:40:12Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1610-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.(การบูรณาการการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้ภาพลักษณ์สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในสายตาของบุคลากร 2) การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ของบุคลากร 3) ความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ของบุคลากร 4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้ภาพลักษณ์สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามลักษณะประชากรของบุคลากร 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์ของบุคลากร และ 6) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ กับการรับรู้ภาพลักษณ์ของบุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่างคือ ข้าราชการและลูกจ้างของ สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จํานวน 359 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) การรับรู้ภาพลักษณ์ของบุคลากรโดยแยกเป็นด้านค่านิยมและด้านภารกิจ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ภาพลักษณ์ด้านค่านิยม เรียงตามลําดับคือ ด้านความซื่อสัตย์ ด้านเป็นธรรม และด้านมืออาชีพ ส่วนการรับรู้ ภาพลักษณ์ด้านภารกิจ พบว่ามีการรับรู้เรียงตามลําดับคือ ด้านป้องกันการทุจริต ด้านการปราบปรามการทุจริต ด้านตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน และด้านการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ 2) การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ ของบุคลากรพบว่าช่องทางที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์เรียงตามลําดับคือ สื่ออินเทอร์เน็ต ได้แก่ สื่อโซเซียลมีเดีย และสื่อเว็บไซด์ของสํานักงาน ป.ป.ช. และสื่อบุคคล ได้แก่ เจ้าหน้าที่ ป.ป.ช. ส่วนความถี่ในการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ พบว่าบุคลากรเปิดรับสื่ออินเทอร์เน็ตมีความถี่มากที่สุด รองลงมาคือ สื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อวิทยุกระจายเสียง ตามลําดับ 3) ความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ของบุคลากร พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจเรียงตามลําดับคือ สื่ออินเทอร์เน็ต สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อบุคคล และสื่อสิ่งพิมพ์ 4) ลักษณะทางประชากรที่แตกต่างกันคือ เพศ อายุ การศึกษา และระดับตําแหน่งส่งผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์ของสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์กับการรับรู้ ภาพลักษณ์ของบุคลากรพบว่ามีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ภาพลักษณ์ คือ เมื่อบุคลากรที่มีการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์มากขึ้น จะทําให้มีการรับรู้ภาพลักษณ์เพิ่มมากขึ้นด้วย และ 6) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์ของบุคลากรพบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ภาพลักษณ์ คือ เมื่อบุคลากรมีความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์มากขึ้น จะทําให้มีการรับรู้ภาพลักษณ์เพิ่มมากขึ้นไปด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบูรณาการการสื่อสาร -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การth_TH
dc.subjectองค์การ -- การประชาสัมพันธ์th_TH
dc.titleการรับรู้ของบุคลากรต่อภาพลักษณ์ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativePersonnel's awareness of the image of the Office of the National Anti-Corruption Commissionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study personnel of the Office of the National Anti-Corruption Commission regardings 1) their awareness of the image of the Office of the National Anti-Corruption Commission; 2) their exposure to the office’s public relations media; 3) their satisfaction with the office’s public relations media; 4) the relationships between the personnel’s demographic factors and their awareness of the image of the office; 5) relationships between their level of exposure to public relations media from the office and their awareness of the office’s image; and 6) the relationships between their level of satisfaction with the office’s public relations media and their awareness of the office’s image. This was a quantitative research using survey method. The sample population was 359 employ ees (both civil servants and regular employees) of the Office of the National Anti-Corruption Commission. The samples were chosen through stratified sampling. The research tool was a questionnaire. Data were analyzed using frequency, mean, standard deviation, t-test, ANOVA and Pearson’s correlated coefficients. The results showed that 1) The personnel were aware of the office’s image in terms of its values and duties. For values, they were aware of the values of honesty, fairness and professionalism, respectively. For duties, they were aware of preventing corruption, suppressing corruption, auditing assets and debts, and building international cooperation, respectively. 2) The public relations medium the personnel were exposed to the most was Internet (social media and the commission’s website), followed by personal media (internal officials). For frequency of media exposure, personnel were exposed to Internet the most frequently, followed by personal media, print media, and radio, respectively. 3) the satisfaction with the office’s public relations media, the personnel were most satisfied with public relations via Internet, followed by radio, personal media and print media. 4) The demographic factors of sex, age group, education, and work position were significantly correlated with level of awareness of the office’s image (p<0.05). 5) There was a positive relationship between employees’ level of exposure to public relations media from the office and their awareness of the office’s image; that is, personnel who were exposed to the media more were more aware of the office’s image. 6) There was a statistically significant positive relationship between employees’ level of satisfaction with public relations media from the office and their awareness of the office’s image; that is, personnel who were more satisfied with the media were also more aware of the office’s imageen_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib165489.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons