Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลรัฐ อินทรทัศน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปิยฉัตร ล้อมชวการ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอิศวรา ศิริรุ่งเรือง, อาจารย์ที่ปรึกษา.th_TH
dc.contributor.authorมนัสชนก สุรชัยกุลวัฒนา, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.th_TH
dc.date.accessioned2022-09-20T07:32:02Z-
dc.date.available2022-09-20T07:32:02Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1617-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.(นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการเปิดรับ การเข้าถึง ความต้องการ และการใช้ ประโยชน์จากรายการโทรทัศน์ของผู้พิการทางการเห็น 2) สถานการณ์เกี่ยวกับรายการโทรทัศน์เพื่อผู้พิการทาง การเห็น 3) วิธีการที่ใช้ในการพัฒนารายการโทรทัศน์และ 4) เสนอแนวทางการพัฒนารายการโทรทัศน์ การวิจัยเรื่องนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมวิธีคือการวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีการสํารวจ ใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้พิการทางการเห็นจาก 4 ภาคของประเทศไทย จํานวน 120 คน เลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน-มาตรฐาน ส่วนการวิจัยเชิง คุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย จํานวน 22 คน สนทนากลุ่ม กับผู้พิการทางการเห็น จํานวน 8 คน เลือกแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการเปิดรับของผู้พิการทางการเห็น ส่วนใหญ่รับชมรายการโทรทัศน์ ทุกวัน โดยเปิดรับช่วงเช้า 06.00-09.00 น. ช่วงเย็น 16.00-19.00 น. ช่วงคํ่า 19.00-22.00 น. เฉลี่ยไม่เกิน 2 ชั่วโมง รายการที่รับชมคือรายการข่าวสาร รายการความรู้ โดยรับชมเหมือนคนอื่นทั่วไปเนื่องจากไม่มีรายการที่ผู้พิการทางการเห็นสามารถเข้าถึงได้ และต้องการเนื้อหาด้านการศึกษาและความรู้ สิทธิและสวัสดิการ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อนําไปปรับใช้ในการดําเนินชีวิต ติดตามข้อมูลข่าวสาร และทํากิจกรรมกับกลุ่มต่างๆ 2) สถานการณ์เกี่ยวกับรายการโทรทัศน์พบว่า สถานีโทรทัศน์ทุกสถานีรับรู้ว่า มีประกาศของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ทุกสถานีมีแผนรองรับ แต่มีเพียงบางสถานีที่เริ่มมีการผลิตรายการที่มีเสียงบรรยายภาพแล้ว ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส แต่ยังไม่เพียงพอ ส่วนสถานีโทรทัศน์ช่องอื่นๆ ยังมีความไม่พร้อม 3) วิธีการพัฒนารายการข่าวสารสาระที่มีประโยชน์ต่อสาธารณะมี 2 วิธี คือ (1) การฝังเสียงบรรยายภาพแทรกลงไปในรายการและบรรยายแบบลื่นไหล (2) การเชื่อมโยงระหว่างเสียง บรรยายภาพและการฝังเสียงบรรยายภาพแทรกลงไปในรายการและบรรยายแบบลื่นไหล 4) แนวทางการพัฒนา รายการข่าวสารสาระเพื่อการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ของผู้พิการทางการเห็น พบปัญหาการขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนารายการข่าวสารสาระที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะเพื่อการเข้าถึงของผู้พิการ จึงต้องมีการทํางานร่วมกันแบบบูรณาการกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ผู้ประกอบ กิจการ สถานีโทรทัศน์ สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย และสถาบันการศึกษา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและ ผลักดันให้ผู้ประกอบการปฏิบัติตามประกาศการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้อย่างเป็นรูปธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโทรทัศน์กับคนตาบอดth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนารายการข่าวสารสาระที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะเพื่อการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ของผู้พิการทางการเห็นth_TH
dc.title.alternativeApproaches for developing universally inclusive news and information programs accessible and useful for the visually impairedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameปรัชญาดุษฏีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาเอกth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) visually impaired peoples’ behavior in terms of exposure to, access to, demand for and utilization of television programs; 2) the situation of TV programs for the visually impaired in Thailand; 3) methods for developing TV programs; and 4) recommended approaches for developing TV programs for the visually impaired. This research employed mixed methods. For the quantitative part a survey was done using a questionnaire on 120 samples of visually impaired individuals from all 4 regions of the country. The samples were chosen through purposive sampling. Data were analyzed using the descriptive statistics of frequency distribution, percentage, mean and standard deviation. For the qualitative part, in-depth interviews were carried out using an interview form with 22 stakeholders and a focus group discussion was held with 8 visually impaired people, chosen through purposive sampling. Data were analyzed using descriptive analysis. The results found that 1) for TV exposure behavior, most of the visually impaired people listened to TV every day, most often at 06.00-09.00 in the morning, 16.00-19.00 in the evening or 19.00-22.00 at night, but on average for no more than 2 hours per day. They mostly listened to news and informative programs, similar to the general public, because they did not have access to programs specifically for the visually impaired. They desired educational and informative programs with content about their rights and welfare, new technologies they could use, general news and news about activities they could participate in with different groups. 2) The situation of TV programs for the visually impaired in Thailand is that every TV station is aware of universal access requirement announced by the National Broadcasting and Telecommunications Commission (NBTC), and every station has a plan to respond, but only Channel 7 and Thai PBS have begun to produce programs with narration for the visually impaired, but not enogh. The other stations are not yet ready to provide the audio description service. 3) There are 2 methods for developing universally inclusive news and information programs: (1) embedding audio descriptions in the TV programs with a narration stream and (2) linking audio descriptions to embedded audio descriptions with streamed narration. 4) As for approaches to developing universally accessible news and information programs, there is a problem with lack of knowledge about producing programs for the disabled. An integrated approach is needed, combining the forces of the NBTC, business enterprises, TV stations, the Association for the Blind, and educational institutions to build knowledge and understanding and to push the private sector into following the NBTC’s announcement and promoting justice by protecting the rights of disabled people to access news and informationen_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib160916.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons