Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1623
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | นฤบาล สำราญจิตต์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-22T08:10:00Z | - |
dc.date.available | 2022-09-22T08:10:00Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1623 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับ 2) การรับรู้ 3) ทัศนคติ 4) ความคาดหวัง และ 5) เปรียบเทียบการเปิดรับ การรับรู้ ทัศนคติ และความคาดหวัง “โครงการเน็ตประชารัฐ” ของประชาชนจังหวัดจันทบุรี ตามลักษณะทางประชากร ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับ การศึกษา อาชีพ รายได้ และประสบการณ์ใช้อินเทอร์เน็ต การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เครื่องมือในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนจังหวัดจันทบุรี 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยใช้วิธีการของ LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เปิดรับ “โครงการเน็ตประชารัฐ” จากผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน/สมาชิก อบต./เจ้าหน้าที่ อสม./ครู กศน. มากที่สุด โดยเปิดรับ ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านมากที่สุด และเปิดรับเวลา 8.00 น. – 12.00 น. มากที่สุด 2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับรู้ “โครงการเน็ตประชารัฐ” มากที่สุดในเรื่อง “เน็ตประชารัฐ” เป็นอินเทอร์เน็ตไร้สายเพื่อประโยชน์สาธารณะ 3) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อ “โครงการเน็ตประชารัฐ” และทัศนคติต่อประเด็น การใช้สื่อและสารเชิงบวกในระดับเห็นด้วย 4) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคาดหวังต่อ “โครงการเน็ตประชารัฐ” ในระดับเห็นด้วย โดยคาดหวังว่าจะช่วยส่งเสริมช่องทางค้าขาย และเพิ่ม รายได้ประชาชน 5) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และประสบการณ์ใช้ อินเทอร์เน็ตแตกต่างกัน จะมีการเปิดรับ “โครงการเน็ตประชารัฐ” ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 6) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และประสบการณ์ใช้อินเทอร์เน็ตแตกต่างกัน มีการรับรู้ “โครงการเน็ตประชารัฐ” ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 7) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับ การศึกษา อาชีพ รายได้ และประสบการณ์ใช้อินเทอร์เน็ตแตกต่างกัน มีทัศนคติต่อ “โครงการเน็ตประชารัฐ” และการใช้สื่อและสารในการเผยแพร่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 8) กลุ่มตัวอย่างที่มี เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ แตกต่างกัน มีความคาดหวังต่อ “โครงการเน็ตประชารัฐ” ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 9) ข้อเสนอแนะของประชาชนจังหวัดจันทบุรี ซึ่ง ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับ “โครงการเน็ตประชารัฐ” เห็นว่า ควรปรับปรุงและขยายระบบสัญญาณ เพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ รวมถึงส่งเจ้าหน้าที่อบรมการใช้งาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โครงการเน็ตประชารัฐ--ความพอใจของผู้ใช้บริการ--ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.title | การเปิดรับ การรับรู้ ทัศนคติ และความคาดหวัง “โครงการเน็ตประชารัฐ” ของประชาชนจังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Exposure, perception, attitudes and expectation towards “The Civil-State Internet Program” of Chanthaburi Province’s citizens | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) Chantaburi citizens’ exposure to the Civil-State Internet Program; 2) their awareness of the program; 3) their attitudes toward the program; 4) their expectations about the program; and 5) the correlation of demographic characteristics such as sex, age, education, occupation, income, and experience in using the Internet to the citizens’ exposure, perception, attitude, and expectations regarding the Civil-State Internet Program. This research was conducted as a survey research using questionnaire to collect the data. A sample of 400 Chanthaburi citizens were chosen using the multistage random method. The obtained data were analyzed for statistical results including frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test and One-Way ANOVA. In addition, the LSD (Least Significant Difference) test was conducted on the results. The results showed that 1) Most of the samples were exposed to the CivilState Internet Program from their village headman, sub-district headman, member of the sub-district administrative organization council, village health volunteer, or officer of the Non-Formal and Informal Education Office, at the Office of the Village, and normally the exposure time was during the period between 8.00-12.00 p.m. 2) Most of the samples perceived the Civil-State Internet Program as free WiFi for the public good. 3) Overall, most of the samples had positive attitudes towards the Civil-State Internet Program, including the media using and the messages. 4) Most of sample had a high level of expectation towards the the Civil-State Internet Program and thought that it could help promote trade and increase people’s incomes. 5) The sample with different ranges of age, education, occupation, income, and experience in using the Internet had different levels of exposure to the Civil-State Internet Program (p < 0.05). 6) The sample with different ranges of education, occupation, income, and experience in using the Internet had different levels of perception about the CivilState Internet Program (p < 0.05). 7) The sample with different ranges of education, occupation, income, and experience in using the Internet had different attitudes toward the Civil-State Internet Program and media using and messages for broadcasting (p < 0.05). 8) People with different sex, ranges of education, occupation, and income had different expectations for the Civil-State Internet Program (p < 0.05). 9) The suggestions of the samples, most of whom approved of the Civil-State Internet Program, were that the Thai government should improve and expand the signal system, increase the channels for broadcasting and provide training on how to use it | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สันทัด ทองรินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib161685.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License