Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1639
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | รัชพงศ์ พิลาคุณ, 2531- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-27T06:38:56Z | - |
dc.date.available | 2022-09-27T06:38:56Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1639 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร จังหวัดหนองคาย ก่อนการทดลองและหลัง การทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบความวิตกกังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคารจังหวัดหนองคายภายหลังการทดลองและในระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในรายวิชาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 2 จํานวน 30 คน ได่มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อลดความวิตกกังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่น และแบบวัดความวิตกกังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่น ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลองหลังการทดลองมีระดับความวิตกกังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่นน้อยลงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ระดับความวิตก กังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่นของกลุ่มทดลอง หลังการทดลองกับในระยะติดตามผลไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14456/ejodil.2020.6 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ภาษาญี่ปุ่น--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ความวิตกกังวลในการพูด | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อลดความวิตกกังวลในการพูดภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร จังหวัดหนองคาย | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package for reducing anxiety in speaking Japanese language of upper secondary students of Pathumthep Wittayakarn School in Nong Khai Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14456/ejodil.2020.6 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare the levels of anxiety in speaking Japanese language of upper secondary students of Pathumthep Wittayakarn School in Nong Khai province before and after the experiment of using a guidance activities package for reducing anxiety in speaking Japanese language; and (2) to compare the levels of anxiety in speaking Japanese Language of upper secondary students of Pathumthep Wittayakarn School at the end of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of 30 randomly selected upper secondary students who enrolled in the Japanese Language Course of Pathumthep Wittayakarn School in the second semester of the 2017 academic year. The employed research instruments were a guidance activities package for reducing anxiety in speaking Japanese language, and a scale to assess anxiety in speaking Japanese language, with .86 reliability coefficient. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) the post-experiment level of anxiety in speaking Japanese language of the experimental group students decreased significantly from their pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) the levels of anxiety in speaking Japanese Language of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly different | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159627.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License