Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1641
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | จักรกริช ชื่นกลิ่นธูป, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-27T07:15:53Z | - |
dc.date.available | 2022-09-27T07:15:53Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1641 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดู ของครอบครัว ระดับความรู้ความเข้้ใจในการอบรมดูแลของโรงเรียน และระดับจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความรู้ความเข้าใจในการอบรมดูแลของโรงเรียนกับจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม และ (3) สร้างสมการทํานายจิตสาธารณะของของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกําแพงแสน จังหวัด นครปฐม ปีการศึกษา 2559 จํานวน 118 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดเรื่องจิตสาธารณะ (2) แบบทดสอบความรู้เรื่องการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว และ (3) แบบทดสอบความรู้เรื่องการอบรมดูแลของโรงเรียน โดยมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .85, .74 และ .85 ตามลําดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม มีคะแนนความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว คะแนนความรู้ความเข้าใจในการอบรมดูแลของโรงเรียน และคะแนนจิตสาธารณะอยู่ในระดับสูงทั้งหมด (2) ความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความรู้ความเข้าใจในการอบรมดูแลของโรงเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับจิตสาธารณะ1อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .52 และ .50 ตามลําดับ และ (3) ความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความรู้ความเข้าใจในการอบรมดูแลของโรงเรียน มีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับจิตสาธารณะ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์จิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 29 และสามารถเขียนสมการทํานายได้ คือ Z’ = .32X1+ .25X2 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาครอบครัว | th_TH |
dc.subject | จิตสาธารณะ--ไทย--นครปฐม | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจในการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความรู้ความเข้าใจในการอบรมดูแลของโรงเรียนกับจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม | th_TH |
dc.title.alternative | The relationships of knowledge and understanding on child rearing by the family and knowledge and understanding on child care by the school with public-mindedness of Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the level of knowledge and understanding on child rearing by the family, the level of knowledge and understanding on child care by the school, and the level of public-mindedness of Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom province; (2) to study the relationships of knowledge and understanding on child rearing by the family and knowledge and understanding on child care by the school with public-mindedness of Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom province; and (3) to create an equation to predict public-mindedness of Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom province. The research sample consisted of 118 Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom province, obtained by simple random sampling. The data collecting instruments were (1) a public- mindedness assessment scale; (2) a test on knowledge and understanding on child rearing by the family; and (3) a test on knowledge and understanding on child care by the school. The reliability coefficients of the three instruments were .85, .74 and .85 respectively. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation, and multiple regression analysis. Research results revealed that (1) Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom province had scores on knowledge and understanding on child rearing by the family, scores on knowledge and understanding on child care by the school, and scores on public-mindedness at the high level; (2) knowledge and understanding on child rearing by the family and knowledge and understanding on child care by the school correlated positively with public-mindedness with the correlation coefficients of .52 and .50 respectively, all of which were significant at the .01 level; and (3) knowledge and understanding on child rearing by the family and knowledge and understanding on child care by the school could be combined to predict public-mindedness of Prathom Suksa VI students at Anuban Kamphaeng Saen School in Nakhon Pathom province by 29 percent, and the predicting equation was as follows: Z’ = .32X1 + .25X2 | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159625.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License