Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐวิศา หงส์พิทักษ์ชน, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-29T03:00:45Z-
dc.date.available2022-09-29T03:00:45Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1643-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดกลุ่มทดลองก่อนและหลังการการปรึกษาแบบกลุ่ม และ 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดกลุ่มทดลองที่ได้รับการให้ปรึกษาแบบกลุ่มและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด ที่มีคะแนนจากแบบวัดพฤติกรรมการ เผชิญปัญหาต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ลงมา และสมัครใจเข้าร่วมการทดลองจำนวน 16 คน จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการท าวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการเผชิญปัญหา และ 2) แบบวัดพฤติกรรมการเผชิญปัญหา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85 กลุ่มทดลองได้รับการปรึกษาแบบกลุ่มจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 90–120 นาที กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบแมนวิทนีย์และการทดสอบวิลคอกซัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดมีพฤติกรรมการเผชิญปัญหาสูงขึ้น ภายหลังการให้การปรึกษาแบบกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ่ .01 และ 2) ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการเผชิญปัญหาสูงขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectมะเร็ง--ผู้ป่วยth_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effect of group counseling to enhance coping behaviors of breast cancer patient receiving chemotherapy in Mahavajiralongkornthunyaburi Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1) compare the coping behaviors of breast cancer patients receiving chemotherapy before and after group counseling; and 2) compare the coping behaviors of breast cancer patients receiving chemotherapy of the experimental group who received groups counseling with the control group who received traditional counseling. The samples were 16 breast cancer patients receiving chemotherapy who had coping behaviors less than 50 percentile. Then, simple sampling was done to divide them into 2 groups, the experimental group and the control group, 8 patients in each group. Research instruments were 1) a group counseling program for enhancing coping behaviors; and 2) a scale assessment of the breast Cancer patients receiving chemotherapy with a reliability of .85. The experimental group received 8 sessions of the group counseling, 90-120 minute in each session. The control group received the traditional counseling. The statistics were median, quartile deviation, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test and Mann-Whitney U Test. The results showed that 1) after receiving the group counseling, the breast cancer patients receiving chemotherapy had coping behaviors higher than before with statistical significance at the level of 0.1, and 2) the breast cancer patients receiving chemotherapy in the experimental group had coping behaviors higher than of the control group with statistical significance at the 0.1 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sulltext_159897.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons