Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1645
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ภาคภูมิ ธีรสันติกุล, 2527- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-29T03:42:32Z | - |
dc.date.available | 2022-09-29T03:42:32Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1645 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการรู้จักและเข้าใจตนเองของกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบรายบุคคลโดยใช้วิธีออนไลน์เพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเองในระยะก่อนและหลังการทดลอง และ 2) เปรียบเทียบการรู้จักและเข้าใจ ตนเองของกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบรายบุคคลโดยใช้วิธีออนไลน์ เพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเองและกลุ่มควบคุมที่ได้รับชุดสารสนเทศเกี่ยวกบการรู้จักyและ เข้าใจตนเองในระยะหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่ผjานเกณฑ์ที่กำหนดไว้และสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง จำนวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 15 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบรายบุคคลโดยใช้วิธีออนไลน์เพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเอง 2) ชุดสารสนเทศเกี่ยวกับการรู้จัก และเข้าใจตนเอง และ 3) แบบวัดการรู้จักและเข้าใจตนเอง มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .88 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบรายบุคคลโดยใช้วิธีออนไลน์เพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเองมีคะแนนเฉลี่ยการรู้จักและเข้าใจตนเองในระยะหลังการทดลองสูงกว่าในระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ่ .01 และ (2) ระยะหลังการทดลองของกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรู้จักและเข้าใจตนเองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษา | th_TH |
dc.subject | จิตวิทยาการปรึกษา | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบรายบุคคลโดยใช้วิธีออนไลน์เพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of online individual counseling program to develop self-understanding of undergraduate students in Faculty of Engineering, Prince of Songkhla University, Hat Yai Campus, Songkhla Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | เช่น สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare self-understanding scores of the experimental group students before and after receiving an online individual counseling program to develop self-understanding; and (2) to compare post-experiment self-understanding scores of the experimental group students who received the online individual counseling program with the post-experiment counterpart scores of the control group students who received an information program on self-understanding. The research sample consisted of 30 undergraduate students or their equivalents in the Faculty of Engineering, Prince of Songkhla University, during the second semester of the 2017 academic year, who voluntarily participated in the experiment. They were then randomly assigned into the experimental group and the control group, each of which containing 15 students. The employed research instruments were (1) an online individual counseling program to develop selfunderstanding; (2) an information program on self-understanding; and (3) a scale to assess self-understanding, with reliability coefficient of .88. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) the post-experiment selfunderstanding mean score of the experimental group students after receiving an online individual counseling program to develop self-understanding was significantly higher than their pre-experiment counterpart mean score at the .01 level of statistical significance; and (2) the post-experiment self-understanding mean score of the experimental group students was significantly higher than the post-experiment counterpart mean score of the control group students at the .01 level of statistical significance | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159459.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License