Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลัลน์ลลิต กันธิยะ, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-29T04:30:53Z-
dc.date.available2022-09-29T04:30:53Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1647-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการรับรู้ความสามารถในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง กรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถ ในการเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการเรียน (3) เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถในการเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ ความสามารถในการเรียน (4) ศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว ตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการเรียน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรี ยนมัธยมวัดธาตุทอง กรุงเทพมหานคร ที่มีการรับรู้ความสามารถในการเรียนต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 25 ลงมา และสมัครใจเข้าร่วม กิจกรรม จำนวน 60 คน แล้วสุ่มอย้างง่ายอีกครั้งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถในการเรียน มีค่าความเที่ยง 0.92 (2) คือ ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการเรียน (3)กิจกรรมแนะแนวปกติ และ (4) แบบประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยที่พบ (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง กรุงเทพมหานคร มีการรับรู้ความสามารถในการเรียนอยู่ในระดับปานกลาง (x=2.18) (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถในการเรียนเพิ่มมากขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนกลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถในการเรียน หลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคม สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ่ .05 (4) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการเรียน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว --การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--กรุงเทพมหานครth_TH
dc.subjectความสามารถในการเรียนรู้th_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--การสื่อสารth_TH
dc.subjectพฤติกรรมมนุษย์th_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--แง่จิตวิทยาth_TH
dc.subjectความสามารถในการสื่อสารในเด็กth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบสื่อสังคมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package base on social media modeling technique to develop academic self-efficacy of Mathayom Suksa 1 students of Mathayom Wat Thatthong School in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the level of Academic SelfEfficacy of Mathayom Suksa I Students of Mathayom Wat Thatthong School in Bangkok Metropolis (2) to compare the Academic Self-Efficacy in the experimental group after using a Guidance Activities Package Base on Social Media Modeling to Develop Academic Self-Efficacy (3) to compare the Academic Self-Efficacy in the experimental group and control group before and after using a guidance activities package Base on Social Media Modeling to Develop Academic Self-Efficacy (4) to study the level of satisfaction in the experimental group after using a Guidance Activities Package Base on Social Media Modeling to Develop Academic SelfEfficacy. The research sample totaling 60 students chosen from the students in Mathayom Suksa 1 at Mathayom WatThatthong School whose scores on the academic Self-Efficacy test were below the 25th percentile and volunteer to join with activities and randomly assigned into the experimental group and control group each of which comprised 30 students. The research instruments were (1) a questionnaire on academic self-efficacy, with reliability coefficient of .91; (2) a guidance activities package base on social media modeling technique to develop academic self-efficacy (3) a regular guidance activities. (4) Satisfaction assessment of guidance activities package base on social media modeling technique to develop academic self-efficacy. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation and t-test The research finding showed that (1) The Academic Self-Efficacy of Mathayom Suksa 1of Mathayom Wat Thatthong School was medium level (x=2.18) (2) The Academic Self-efficacy of the experimental group after using a guidance activities package Base on Social Media Modeling to Develop Academic SelfEfficacy increased significantly at the .05 level. (3) The Academic Self-efficacy of the experimental group after using a guidance activities package Base on Social Media was higher than the control group used regular guidance activities. Statistically significantly at the .05 level. (4) The satisfaction in using a guidance activities package Base on Social Media Modeling to Develop Academic Self-Efficacy of the experimental group was at a high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159460.pdfเอกสารฉบับเต็ม14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons