Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์th_TH
dc.contributor.authorสุชาดา กองสิน, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-29T06:29:16Z-
dc.date.available2022-09-29T06:29:16Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1648en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สมรรถนะการสื่อสารของ พยาบาลวิชาชีพในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (2) ความสัมพันธ์ของระยะเวลาปฏิบ้ติงาน แบบแผนการสื่อสาร การรับรู้ความสามารถของตนเอง การรับรู้นโยบายการสื่อสารในองค์การ บรรยากาศการสื่อสารในองค์การ และสมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ความสามารถในการทำนายของระยะเวลาปฏิบัติงาน แบบแผนการสื่อสาร การรับรู้ความสามารถของตนเอง การรับรู้นโยบายการสื่อสารในองค์การ บรรยากาศการสื่อสารในองค์การต่อสมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 158 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ (1) ข้อมูล ทั่วไป (2) แบบแผนการสื่อสาร (3) การรับรู้ความสามารถของตนเอง (4) การรับรู้นโยบายการสื่อสารในองค์กร (5) บรรยากาศการสื่อสารในองค์การ และ (6) สมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพในงานอุบัติเหตุและฉกเฉิน แบบสอบถามมีดัชนีความตรงตามเนื้อหาของส่วนที่ 2-6 เท่ากับ 1.00, .95, 1.00, 1.00 และ .95 และมีคำสัมประสิทธแอลฟาครอนบราค เท่ากับ .86, .86, .95, .86, .94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติสหพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (2) การรับรู้ความสามารถของตนเองและบรรยากาศการสื่อสารในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับสมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพ ส่วนระยะเวลาปฏิบัติงาน แบบแผนการสื่อสารด้านการตัดสินใจ และการรับรู้นโยบายการสื่อสารในองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับตํ่ากับสมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ระยะเวลาปฏิบัติงาน แบบแผนการสื่อสารด้านการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และบรรยากาศการสื่อสารในองค์การสามารถร่วมกันทำนายสมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 29.8th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectพยาบาล--ไทย--อุบลราชธานีth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.titleปัจจัยทำนายสมรรถนะการสื่อสารของพยาบาลวิชาชีพในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors predicting communication competency of professional nurses in emergency unit at community hospitals, Ubonratchatanee Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this predicted research were: (1) to study communication competency of professional nurses in an emergency unit, (2) to explore the relationships between working experience, communication style, perception of selfefficacy, policy perception related to organizational communication, communication climate in organization, and communication competency of professional nurses, and (3) to investigate the predicted power of working experience, communication style, perception of self-efficacy, policy perception related to organizational communication, communication climate in organization to communication competency of professional nurses in emergency unit at community hospitals, Ubonratchatanee province. The sample included 158 professional nurses who had at least 1-year experience in the emergency unit at community hospitals, Ubonratchatanee province. Research tool was a questionnaire comprised six sections: (1) personal data, (2) communication style, (3) perception of self-efficacy, (4) policy perception related to organizational communication, (5) communication climate in organization, and (6) communication competency of professional nurses in the emergency unit. The content validity indexes (CVI) of the second to the six sections were 1.00, .95, 1.00, 1.00, and .95 and Cronbach’s alpha coefficients were .86, .86, .95, .86, and .9 4 , respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, Pearson product moment correlation, and stepwise multiple regression analysis. The results revealed as follows: (1) professional nurses rated their communication competency in the emergency unit in total and each domain at the highlevel, (2) perception of self-efficacy and communication climate in organization significantly moderately correlated with communication competency. Working experience, communication style in the domain of judging, and policy perception related to organizational communication significantly low correlated with communication competency (p < .05). (3) Working experience, communication style in the domain of judging, perception of self-efficacy, and communication climate in organization could predicted communication competency that accounted for 29.8 percent of variance.en_US
dc.contributor.coadvisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib159442.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons