Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1653
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์th_TH
dc.contributor.authorอดุลย์ วุฒิจูรีพันธุ์, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-30T03:45:42Z-
dc.date.available2022-09-30T03:45:42Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1653en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมแรงจูงใจในการลดนํ้าหนักผ่านการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อแรงจูงใจในการลดนํ้าหนัก พฤติกรรมการลดนํ้าหนัก เส้นรอบเอว และดัชนีมวลกายของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วนในวิทยาลัยพยาบาล ซึ่งถูกเลือกโดยวิธีการลุ่มแบบง่าย เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30 ราย เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมสร้างเสริมแรงจูงใจในการลดนํ้าหนักผ่านการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาขึ้นตามแบบจำลองแรงจูงใจ มีระยะเวลา 8 สัปดาห์ กิจกรรรมประกอบด้วย การให้ความรู้และ ฝึกทักษะการรับประทานอาหารและออกกำลังกายเพื่อลดนํ้าหนัก การใช้แอปพลิเคชั่นไลน์ในการทบทวนความรู้ สร้างแรงจูงใจและติดตามพฤติกรรมการลดนํ้าหนัก 2) แบบสอบถามแรงจูงใจในการลดนํ้าหนักและพฤติกรรมการลดนํ้าหนัก 3) เครื่องชั่งนํ้าหนัก และ 4) สายวัดรอบเอว แบบสอบถามแรงจูงใจในการลดน้ำหนักและพฤติกรรมการลดนํ้าหนักมีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .92 และ .89 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบราค เท่ากับ .90 และ .88 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติที และสถิตินอนพาราเมตริค ผลการวิจัยพบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรมสร้างเสริมแรงจูงใจในการลดนํ้าหนักผ่านการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วนในกลุ่มทดลองมีแรงจูงใจในการลดนํ้าหนักและพฤติกรรมการลดนํ้าหนักดีกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีค่าเฉลี่ยเส้นรอบเอวและดัชนีมวลกายนัอยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการลดความอ้วนth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมแรงจูงใจในการลดน้ำหนักผ่านการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ในนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วนth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of an enhancing motivation program in weight reduction via electronic communication in obese nursing studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental study, two-group pre-test and post-test design, was to find the effectiveness of an enhancing motivation program in weight reduction via electronic communication for obese nursing students. The study examined weight reduction motivation, weight reduction behaviors, waistline, and body mass index. The sample was obese nursing students of the college of nursing who were selected by simple random sampling and put into the experimental and comparative groups with 30 students in each group. The research instruments were 1) the enhancing motivation program in weight reduction via electronic communication which was developed based on a motivation model. The experiment duration was 8 weeks. The activities comprised of health education and skill practice on food consumption and exercises for weight reduction. The LINE application was used for nursing students to review their knowledge, motivate, and follow up their weight reduction behaviors. 2) Questionnaires of motivation in weight reduction and weight reduction behaviors, 3) a weighing scale, and 4) waist circumference were used. Content validity index of the questionnaire of motivation in weight reduction and weight reduction behaviors were .92 and .89 and Cronbach’s alpha coefficient were .90 and .88, respectively. Descriptive statistics, t-test, and nonparametric statistics were used for data analysis. The results revealed that after enrolling the enhancing motivation program of weight reduction via electronic communication, motivation in weight reduction, and weight reduction behaviors of obese nursing students in the experimental group were significantly better than before enrolling into the program as well as better than the comparative group at p-value .05. Mean of waistline and body mass index of the experimental group was significantly lower than before enrolling program as well as the comparative group at p-value .05.en_US
dc.contributor.coadvisorกฤษณาพร ทิพย์กาญจนเรขาth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib165223.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons