Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณทิตศึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัญชลี เรือนแก้ว, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณทิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-30T07:03:11Z-
dc.date.available2022-09-30T07:03:11Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1658-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและจัดลําดับความต้องการจำเป็ นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2560 จำนวน 432 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รูปแบบการตอบสนองรายคู่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI) ผลการวิจัยปรากฏว่า ครูผู้สอนมีความต้องการจำเป็นในพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รายด้านเรียงลำดับความสำคัญ ดังนี้ 1) ด้านการเตรียมการ 2) ด้านการใช้สื่อ การจัดสภาพแวดล้อม และแหล่งการเรียนรู้ 3) ด้านการประเมินผล และ 4) ด้านการจัดการเรียนรู้ ส่วนด้านย่อย พบว่าครูมีความต้องการจำเป็น เรียงลำดับความสำคัญ ดังนี้ 1) การเตรียมตนเองในศตวรรษที่ 21 2) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) การออกแบบการเรียนรู้ 4) การใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 5) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 6) การจัดสภาพแวดล้อมและแหล่งการเรียนรู้ และ 7) การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รายการที่ต้องการพัฒนาที่มีค่า PNI ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป มี 13 รายการ เรียงลำดับความสำคัญ 5 อันดับแรก ดังนี้ 1) การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อแบ่งปันองค์ความรู้และวิธีการจัดการเรียนรู้ 2) การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ ในการสื่อสารเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ 3) การเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียนรู้ 4) การศึกษาข้อมูลจากการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และ 5) การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และติดตามองค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้--การจัดการth_TH
dc.subjectครู--การพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectโรงเรียนเอกชนth_TH
dc.titleการประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานครกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนth_TH
dc.title.alternativeA needs assessment for learning management development in the 21st century of lower secondary teachers in schools under the Office of the Private Education Commissionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to assess and prioritize the needs for learning management development in the 21st Century of lower secondary teachers in schools under the Office of the Private Education Commission. The sample comprised 432 teachers from schools under the Office of the Private Education Commission in the 2017 academic year, obtained by multistage sampling. The employed research instrument was a dual-response questionnaire on the needs for learning management development in the 21st Century. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation and PNIModified. Research findings revealed that the specific aspects of needs for learning management development in the 21st Century, as perceived by the teachers, could be ranked in order of priority as follows: (1) the preparation aspect, (2) the use of media and the management of environment and learning sources aspect, (3) the evaluation aspect, and (4) the learning management aspect. As for the sub-aspects of the needs, it was found that the teachers’ perceived sub-aspect needs could be ranked in order of priority as follows: (1) the teacher’s self-preparation for the 21st Century, (2) the learner-centered learning management, (3) the design of learning, (4) the use of media, innovation and educational technology, (5) the measurement and evaluation of learning outcomes, (6) the management of environment and learning sources, and (7) the enhancement of virtues, morality and desirable characteristics. Furthermore, there were 13 items for learning management development in the 21st century with PNI values of 0.2 and above, the top 5 items of which based on the order of priority were as follows: (1) the creation of learning networks as professional learning community to share knowledge and knowledge management methods, (2) the development of communication skills in English and other foreign languages in order to communicate for learning management, (3) the encouragement of parents to participate in learning evaluation, (4) the study of information from research studies for learning management development, and (5) the study and search for knowledge and the follow-up on new academic and professional knowledgeen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159633.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons