Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัมภา ศรารัชต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุปผา กิจสหวงศ์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-10T08:45:09Z-
dc.date.available2022-10-10T08:45:09Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1691-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะผู้นำเชิง บริหารจัดการของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้นตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ (2) ระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชิพ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงบริหาร จัดการของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้นกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชิพ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ 371 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นจากประชากรที่ เป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการทั้งหมดของโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือ ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามซึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนที่ 2 แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงบริหารจัดการของผู้บริหารการ พยาบาลระดับต้น ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดภาวะผู้นำเชิงบริหารจัดการของควินน์และคณะ (2546) และส่วนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งผู้วิจัย พัฒนาขึ้นตามแนวคิดทฤษฏีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบิร์ก (2502) ความตรงตามเนื้อหาของ แบบสอบถามมีค่า CVI เท่ากับ 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ ความเที่ยงของแบบสอบถามจากการหา ค่าครอนบาคแอลฟาเท่ากับ 0.98 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงบริหารจัดการของผู้บริหารการพยาบาลระดับ ต้นตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับสูง (x-3.75, S.D.=0.62) (2) ระดับความพึงพอใจใน การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (x-3.8, S.D.=0.50) และ (3) ภาวะ ผู้นำเชิงบริหารจัดการของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้นมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง (r=0.638) กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.207en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชน -- การบริหารth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงบริหารจัดการของผู้บริหารการพยาบาล ระดับต้นกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between managerial leadership of first level nursing managers and job satisfaction of professional nurses at Private Hospitals in the Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.207en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to determine the level of managerial leadership of first level nursing managers as perceived by professional nurses, (2) to study the level of job satisfaction of professional nurses, and (3) to investigate the relationship between managerial leadership of first level nursing managers and job satisfaction of professional nurses at private hospitals in the Bangkok Metropolis Stratified random sampling technique was used for selecting 371 subjects from all professional nurses at private hospitals in the Bangkok Metropolis. Research . tools, developed by the researcher, were questionnaires and comprised 3 sections: (1) personal data of the subjects, (2) managerial leadership based on Quinn, et. al. (2003) and (3) job satisfaction of professional nurses according to Herzberg’s Two-Factor Theory (1959). The content validity index of the second and the third sections were 0.97 and 0.98 respectively; whereas the internal consistency Cronbach alpha coefficients were 0.98 and 0.97 respectively. Statistical devices used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson Product Moment Correlation coefficient. The results of this study illustrated that (1) the mean score of managerial leadership of first level nursing managers was rated at the high level (x = 3.75, S.D. = 0.62), (2) the mean score of job satisfaction of professional nurses was rated at the high level (x = 3.8, S.D. = 0.50), and (3) the managerial leadership of first level nursing managers was significantly positively related to job satisfaction of professional nurses at private hospitals in the Bangkok Metropolis (r = 0.638, p<. 05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib105450.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons