Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลขนิษฐ์ ลิขิตลือชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดารุณี จันฤาไชย, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-11T03:36:32Z-
dc.date.available2022-10-11T03:36:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1703-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ระดับการ เสริมสร้างพลังอำนาจในงาน ระดับความสามารถในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลของ พยาบาลวิชาชีพ และ (2 ) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลและการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานต่อ ความสามารถในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขต 11 ประชากรที่ศึกษาคือพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน ใน เขต 11 จำนวน 869 คน สุ่มตัวอย่าง แบบหลายชั้น ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 274 คน เครื่องมือที่ใชัในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่ ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมสร้างพลังอำนาจในงาน และความสามารถในการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ชึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์คัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.92 และ 0.94 ตามลำด้บ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน เขต 11 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วน ใหญ่มีสถานภาพสมรส ร้อยละ68 ระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรี ร้อยละ 97.4 และมีประสบการณ์การ ปฏิบัติงานในบทบาทพยาบาลวิชาชีพ 6 ปีขึ้นไปร้อยละ 64.2 ระดับการเสริมสร้างพลังอำนาจในงาน และระดับ ความสามารถในการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับ มาก และ (2) ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานด้านการได้รับอำนาจ มีอิทธิพลต่อความสามารถในการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ สามารถทำนายได้ร้อยละ 18.5 สำหรับปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีอิทธพลต่อความสามารถในการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติตามมาตรฐาน การปฏิบัติการพยาบาล โดยการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานแก่พยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.21en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ภาระงานth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล และการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานต่อความสามารถในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขต 11th_TH
dc.title.alternativeInfluence of personal factors and job empowerment on job performance according to nursing standard of professional nurses at Community Hospitals in Region 11th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.21en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to describe personal characteristics, job empowerment, and job performance according to nursing standards of professional nurses; and (2) to explore the influence of personal factors and job empowerment on job performance according to nursing standards of professional nurses at community hospitals in Region 11, Thailand. Multi-stage random sampling technique was used for selecting subjects. Questionnaires were used for collecting the data from 274 professional nurses. Questionnaires consisted of three parts: personal characteristics, job empowerment, and job performance according to nursing standards of professional nurses. The content validity was verified by five experts. The Cronbach Alpha reliability coefficients of the second and the third parts were 0.92 and 0.94 respectively. Statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression. The research findings were as follows. (1) Sixty eight percent of professional nurses are married, and sixty four percent of them had more than six years experiences. Job empowerment and job performance according to nursing standard of professional nurses were rated at the high level. (2) Job empowerment increased if power was granted in their job, and was a statistically significant influence on job performance according to nursing standard (p < .05) and it accounted for 18.5%. The results of this study can be used as a guideline to develop and to increase nurses’ professional competencies according to nursing standard of professional nursesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib105531.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons