Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1720
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พัชราพร เกิดมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ลักขณา เดชารัตน์, 2508- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-12T03:39:30Z | - |
dc.date.available | 2022-10-12T03:39:30Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1720 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคงอยู่ของพยาบาล วิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ โดยศึกษากรณีอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่ม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในการ สัมภาษณ์เจาะลึกประกอบด้วย (1) ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ ผู้บริหารระดับจังหวัด ผู้นำวิชาชีพทางการพยาบาล อาจารย์พยาบาล จำนวน 3 คน (2) ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ซึ่งมีประสบการณ์ในการจัดบริการสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ จำนวน 1 คน (3) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล ในโรงพยาบาลชุมชน ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการ พยาบาล พยาบาลวิชาชีพทั้งที่กำลังปฏิบัติงานและเคยปฏิบัติงานในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ และพยาบาล วิชาชีพที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา จำนวน 7 คน (4) ผู้นำองค์กรท้องถิ่น จำนวน 1 คน และ (5) แกนนำประชาชน ในท้องถิ่น จำนวน 1 คน นำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสรัางข้อสรุปของปัจจัย และดำเนินการสนทนากลุ่ม เพื่อยืนยันข้อสรุปที่ได้ 2 ครั้ง ในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขที่ปฎิบัติงานในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ จำนวน 9 คน และ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 11 คน ผลการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยที่มีเกี่ยวข้องกับการคงอยู่ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานใน หน่วยบริการระดับปฐมภูมิสามารถสรุปได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) คุณสมบัติพื้นฐาน ประกอบด้วย มีความรู้รอบ มีประสบการณ์ ใจรักงานด้านชุมชน เป็นคนในพื้นที่หรือมีครอบครัวอยู่ในพื้นที่ เข้าใจประชาชนเข้ากับ ชุมชนได้ และความรู้และทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอต่อการทำงานในชุมชน (2) ปัจจัยส่งเสริม ได้แก่ มี ทีมงานที่ร่วมมือร่วมใจ เครือข่ายสนับสนุนช่วยเหลือ มีโอกาสทำงานที่อิสระและริเริ่มงานได้ด้วยตนเอง ได้รับการยอมรับเป็นคนสำคัญของชุมชน ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม และผู้นำระบบบริการปฐมภูมิเข้า กันได้และ (3) ปัจจัยอุปสรรค ได้แก่ ปัญหาขาดแคลนพยาบาลถูกมองข้าม เครียดกับการปรับเปลี่ยนชีวิตให้ ปฏิบัติงานได้ ถูกทิ้งให้เผชิญปัญหาตามลำพัง การบริหารจัดการเครือข่ายไม่ลงตัว พยาบาลเป็นคนใหม่เข้า กับทีมเดิมไม่ได้ ขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน และ ความก้าวหน้าในวิชาชีพไม่ชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.289 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล -- การบริหาร | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคงอยู่ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ : กรณีศึกษาอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Factors associated with retention of professional nurses in primary care units : a case study of Phipun District, Nakhon Si Thammarat Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.289 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this qualitative research was to explore the factors associated with retention of professional nurses in the primary care unit of Phipun District, Nakhon Si Thammarat Province. In-depth interview and focus group were used for collecting data. The former was performed with thirteen key informants of the following five groups:(l) three experts consisting of a provincial administrators nursing leader, and a nursing educator; (2) a doctor in medicine who had experience in primary care;(3) seven professional nurses who worked in a community-based organization comprising (a) administrators, (b) nurses who are working and who worked in the primary care units, and (c) a new nurse who just graduated; (4) one community leader; finally, (5) one core community person was included. Content analysis was used to derive themes and summary of influencing factors. In addition, two focus group interview sessions were performed to cross-check the results. The participants of both sessions included nine primary-health care personnel and eleven professional nurses. The results showed that three factors associated to maintaining professional nurses were as follows.(l) Basic qualification factors included: (a) nurses should be well-rounded and have wide experience,(b) they should be devoted to their communities, (c) they should be local residents or their families should live in the area, and(d) they should understand local people and be able to work in communities, and (e) they felt that they did not have enough knowledge and skills to work in communities. (2) Supportive factors comprised:(a) teams works co-operatively, (b) their networks supported them, (c) they had opportunities to work independently and could initiate their work by themselves, (d) they were recognized as important persons in the communities,(e) they received suitable incomes, and (f) they had good relationship with their supervisors. (3)Barrier factors consisted of: (a) there was a shortage of nurses, (b) they were not recognized,(c) they felt stress because they needed to adapt themselves to their work, (d) they were left to cope with problems alone, (e) they could not manage their networks efficiently, (f) new nurses could not work well with existing teams, (g) they lacked morale and willpower, finally (h) their professional promotion was not clear | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib107611.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License