Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรภรณ์ กุวลัยรัตน์, 1950--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-12T06:34:43Z-
dc.date.available2022-10-12T06:34:43Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1721-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อเปรียบเทียบ (1) พฤติกรรมบริการพยาบาลอย่าง เอื้ออาทร ในหน่วยตรวจโรคนรีเวชวิทยาก่อนและหลังการใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทร (2) ความ พึงพอใจของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมบริการพยาบาทอย่างเอื้ออาทรก่อนและหลังการใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่าง เอื้ออาทร และ (3) ความคิดเห็นของผู้ป่วยเกี่ยวกับสิ่งที่ประทับใจและสิ่งที่ไม่ประทับใจในพฤติกรรมบริการ พยาบาลก่อนและหลังการใช้รูปแบบบริการพยาบาทอย่างเอื้ออาทร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในหน่วยตรวจโรคนรีเวชวิทยา จำนวน 10 คน และผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดด้านนรีเวชวิทยา ก่อนและหลังใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทร กลุ่มละ 30 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสอบถามพฤติกรรมบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพ (2) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทร ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถาม .92 และ .96 ตามลำดับ และค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอลฟา ของแบบสอบถาม .95 และ .98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Wilcoxon matched-pairs signed ranks test, independent t-test และ proportional test ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยตรวจ โรคนรีเวชวิทยาก่อนและหลังการใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการ เสริมสร้างพลังจิตวิญญาณที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อ พฤตกรรมบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรก่อนและหลังการใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญหางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผู้ป่วยรู้สึกประทับใจในพฤติกรรมบริการพยาบาล 3 ประเด็น คือ การเอาใจใส่ในการบริการ การพูดจาไพเราะ และการให้คำแนะนำ โดยหลังใช้รูปแนบการบริการพยาบาลอย่าง เอื้ออาทร ผู้ป่วยประทับใจการเอาใจใส่ในการบริการสูงกว่าก่อนใช้รูปแบบ รัอยละ 23.3 และแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนสิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกไม่ประทับใจมี 2 ประเด็น ได้แก่ ความสะดวกสบายและการ พูดจา/แสดงทำทีไม่ดี แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระหว่างก่อนและหลังการ ใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleผลของใช้รูปแบบบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรต่อความพึงพอใจของผู้ป่วย และพฤติกรรมบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพในหน่วยตรวจโรคนรีเวชวิทยา โรงพยาบาลศิริราชth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using caring nursing service model on patients' satisfaction and professional nurses' caring service behaviors in the Gynaecological Out-Patient Department at Siriraj Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe specific purposes of this quasi-experi mental research were to compare: (1) professional nurses’ caring service behaviors in the gynaecological out-patient department before and after using caring nursing service model (CNSM); (2) patients’ satisfaction with the caring nursing service behaviors before and after using CNSM; and (3) patients’ impression and unimpression of caring nursing service behaviors before and after using CNSM. The sample of this study consisted of 2 groups: (1) ten professional nurses in the gynaecological out-patient department; and (2) patients who had been undergone gynaecological operation 30 cases prior to using CNSM and other 30 cases after applying this model. Both groups were selected by purposive sampling. Research tools comprised two questionnaires: (1) the caring service behaviors as perceived by professional nurses; and (2) patients’ satisfaction on caring service behaviors of nurses. The content validity index of the tools were .92 and .96 and the Cronbach alpha coefficient were .95 and .98 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, Wilcoxon matched-pairs signed ranks test, independent t-test, and proportional test. The results were as follows: (I) Caring service behaviors of professional nurses before and after using CNSM was no statistically significant difference (p < .05) except spiritual empowerment. (2) Patients’ satisfaction with caring service behaviors illustrated no statistically significant difference between before and after using CNSM. (3) Patients expressed that they were impressed by three caring service behaviors including nurses provided good care, nurses spoke politely and nurses gave useful advice. After using CNSM, patients rated their impression on the first behavior higher than before using CNSM 23.3%, and this showed statistically significant difference (p < .05). On the other hand, the patients cited their unimpression of caring nursing service behavior regarding inconvenience and unfavorable speech/ manners of nurses; however, these opinions showed non-significant difference between before and after using CNSMen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107612.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons