Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1723
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทัศนีย์ จันโทสถ, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-12T07:42:45Z-
dc.date.available2022-10-12T07:42:45Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1723-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรู้ เจตคติ และ พฤติกรรมการจัดการตนเองของพยาบาลที่มีคอเลสเตอรอลสูงในโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก ของกลุ่มทดลอง ในระยะก่อนทดลอง ห้องทดลองและระยะติดตาม 2) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ เจตคติ และ พฤติกรรมการจัดการตนเองของพยาบาลที่มีคอเลสเตอรอลสูงในโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก ระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม ในระยะก่อนทดลอง หลังทดลองและระยะติดตาม 3) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับ คอเลสเตอรอลของกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุมในระยะก่อนทดลองและระยะติดตาม กลุ่มประชากรเป็นพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานโนโรงพยาบาลแม่สอด จำนวน 78 คน ที่ได้รับการ ตรวจสุขภาพประจำปี 2550 ซึ่งมีผลการตรวจคอเอสเตอรอลมากกว่าหรือเท่ากับ 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร สุ่มเข้า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยสมัครใจ จำนวนกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือโปรแกรมการ สร้างพลังอำนาจในการจัดการตนเองต่อระดับคอเอสเตอรอล โดยกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสรัาง พลังอำนาจ ติดต่อกัน 2 วัน ติดตามผลเพื่อกระตุ้นเตือนทุก 4 สัปดาห์ จำนวน 3 ครั้ง เครึ่องมือที่ใชัในการเก็บ รวบรวมข้อมูลประกอด้วย แบบประเมินความรู้ แบบประเมินเจตคติ แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด ซึ่งผ่านการทดสอบความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค ใช้ค่าความเที่ยงของแบบประเมิน 0.83,0.82,0.82,0.82 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชั โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปและใช้สถิติ t- test dependent groups และ t - test independent groups, ANCOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการจัดการตนเองด้านการบรีโภค อาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด ของกลุ่มทดลอง ในระยะก่อนทดลอง และระยะติดตามพบว่ามี ค่าเฉลี่ยแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (p< .001) ส่วนพฤติกรรมการจัดการด้านการบริโภค อาหาร ด้านการออกกำลังกาย ด้านการจัดการความเครียด ของกลุ่มทดลอง ในระยะก่อนทดลองและหลังทดลอง มีค่าเฉลี่ยคะแนนไม่แตกต่างกัน (p > .05) 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการจัดการตนเองด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด ก่อนการทดลอง และระยะติดตาม ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (p< .001) 3) ค่าเฉลี่ยของคอเลสเตอรออ ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในระยะก่อนทดลองและระยะติดตามมี ความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญที่ระดับ .05 (p < .01)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.328en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโคเลสเตอรอล -- การควบคุมth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการจัดการตนเอง ต่อระดับคอเลสเตอรอลของพยาบาลที่มีคอเลสเตอรอลสูง โรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeEffects of an empowerment program for self management in serum cholesterol reduction of nurses with Hypercholesterolemia at Mae Sot General Hospital in Tak Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.328th_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quasi-experimental research were three fold.. (1) To compare mean of knowledge, attitudes, behaviors, and self-management in nurses with Hypercholesterolemia at Mae Sot General Hospital in Tak Province in experiment group before after and follow up of training (2) To compare mean of knowledge, attitudes, behaviors, and self-management in nurses with Hypercholesterolemia at Mae Sot General Hospital in Tak Province between experiment group and control group,before after and follow up of training (3) To compare cholesterol levels between those two groups before and follow up of training. The population of this study comprised 78 nurses who worked at Mae Sot General Hospital in Tak Province, whose serum cholesterol level was > 200 mg/dl. This cholesterol test was done in the 2007 annual health screening program. These nurses were divided by simple random sampling into the control group (30) and the experimental group (30). They participated this study voluntarily. The Empowerment Program for Self Management in Serum Cholesterol Reduction was used as a research tool to reduce cholesterol level. Five sets of questionnaires and an interview developed by the researcher were used as research tools and were tested for reliability and validity. The Chronbach Alpha reliability coefficients of knowledge, attitudes, food consuming behaviors, exercised, and stress management were 0.86,0.82, 0.82, 0.82 and 0.82 respectively. The experimental group participated in a 2days training program, and 3 follow-ups every 4 weeks during 3 months. Nurses’ cholesterol level was examined before and after participation in the program. Statistical devices used for data analysis were t - test both dependent and independent ,ANCOVA. The research findings were as follows. (1) There was statistic significant difference in experiment group in terms of knowledge, attitudes, food consuming behaviors, exercised, and stress management before and follow up of the training program provided (p = .05) .However^ there was no statistically significant difference in terms of, food consuming behaviors, exercised, and stress management of experiment group before and after the training program provided (p = .05).(2) There was a statistically significant difference in terms of knowledge, attitudes, food consuming behaviora, exercised, and stress management before and follow up of training programe between experimental group and control group(p .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107614.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons