Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1750
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ราศรี ลีนะกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สมจิตร พูลเพ็ง, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-18T02:57:44Z | - |
dc.date.available | 2022-10-18T02:57:44Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1750 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมการเสริมสรัาง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม จังหวัดสระบุรึ และ 2) ประเมินผล โปรแกรมการเสริมสรัางแรงจูงใจที่พัฒนาขึ้น ประชากรเป้าหมายประกอบด้วย พยาบาลหัวหน้างาน 1 คน และพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานใน แผนกผู้ป่วยในตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 11 คน การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจของพยาบาลประจำการ โดยการทบทวนวรรณกรรม การสังเกตสิ่งแวดล้อม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมการเสริมสรัางแรงจูงใจ โดยกำหนดประเด็นที่ต้องการพัฒนาร่วมกัน 3 ประเด็น คือ 1) อัตรากำลังและตารางการปฏิบัติงาน 2) สวัสดิการ และวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานและ 3) การสื่อสาร ดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ในรูปแบบวงจรการวิจัยคือ ร่วมกันวางแผน ปฏิบัติสังเกต และสะท้อนการปฏิบัติ แล้วนำมาปรับปรุงแผน หมุนเวียน จนได้พบแนวปฏิบัติที่สมาชิกพึงพอใจ จึงยุติและสรุปผลการดำเนินงาน และ 3) ระยะประเมินผล เปรียบเทียบแรงจูงใจและสภาพแวดล้อมก่อนและหลังการดำเนินการตามโปรแกรม เครึ่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แนวสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสอบถามแรงจูงใจ และแบบสอบถามสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ทดสอบความตรงตามข้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.94 และ 0.77 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติที่แบบไม่อิสระ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมการเสริมสรัางแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการ ประกอบด้วย (1) จัดอัตรากำลังให้เพึยงพอกับภาระงาน (2 ) จัดตารางปฏิบัติงานให้มีความยืดหยุ่น มีระเบียบปฏิบัติที่ชัดเจน (3) จัดให้มีวัสดุครุภัณฑ์ที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน (4) จัดสวัสดิการเพิ่มเติมและ (5) พัฒนาการสื่อสารในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพและเพิ่มช่องทางการสื่อสาร 2) พยาบาลประจำการมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และการรับรู้สิ่งแวดล้อมในสถานที่ปฏิบัติงาน สูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t - 2.34, P <0.05; เ= 3.54, p<0.05) นอกจากนี้ยังพบการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในด้านสัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงานด้านการสื่อสารในองค์กร รวมทั้งทำให้พยาบาลประจำการมีความพึงพอใจในงานสูงขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.198 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การจูงใจ (จิตวิทยา) | th_TH |
dc.subject | การทำงาน -- แง่จิตวิทยา | th_TH |
dc.subject | พยาบาล | th_TH |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม จังหวัดสระบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The development of the motivation enhancement for staff nurses program at Wangmuangsattam Hospital, Saraburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.198 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this participatory action research were to 1) develop the program to enhance motivation of staff nurses at Wangmuangsattam Hospital in Saraburi Province and 2) evaluating the program. The target population included one head nurse and eleven staff nurses who have at least one-year experience in the inpatient department This study was divided into 3 phases: 1) Explore situations and factors associated with motivation enhancement for staff nurses by literature review, observation, in-depth interview and focus group. 2) The program started by concluded three issues for motivation enhancement including: (1) nurse staffing and work schedules (2) welfare and equipments and supplies for work and (3) communication in the workplace. Participatory action research was applied, and 3) evaluation phase. The work’s motivation and work environment were compared between before and after program implementation. The instruments consisted of work-related motivation questionnaire and workplace environment questionnaire. Content validity of the instruments were examined by five experts. The Cronbach’s alpha coefficients of the questionnaires were 0.94 and 0.77 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, paired t test and content analysis. The findings were as follows: 1. The motivation enhancement program consisted of: 1) the adequate and appropriate nurse staffing 2) the flexible work schedules and clearly guideline 3) the adequate equipments and supplies for work 4) expanding welfare 5) developed effective communication and increased communication ways. 2. After the program was implemented, the working motivation and workplace environment perception of the staff nurses were significantly higher than those before implementation | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib108788.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License