Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ คงสม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศักดิ์สิทธิ์ ปลาสุวรรณ์, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T03:50:38Z-
dc.date.available2022-10-18T03:50:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1757-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานทั่วไปด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนที่เข้าร่วมดาเนินโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ป่าไม้บ้านหัวทุ่ง ตาบลเชียงดาว อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมและความเหมาะสมต่อการดาเนินโครงการฯ (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการดาเนินโครงการฯ (4) เพื่อศึกษาปัจจัยความสาเร็จและอุปสรรคต่อการดาเนินโครงการฯและ (5) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานโครงการฯ ผลการวิจัย พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 51-60 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป มีรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาทต่อเดือน จากการศึกษาระดับการมีส่วนร่วมต่อการดาเนินโครงการฯพบว่าประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุดในด้านการรับผลประโยชน์ และมีส่วนร่วมน้อยที่สุดในด้านการวางแผนการดาเนินกิจกรรม ส่วนความเหมาะสมระดับมากที่สุดในด้านการติดตามและประเมินผลและน้อยที่สุดในด้านการวางแผนการดาเนินกิจกรรม จากการศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการดาเนินงานโครงการฯพบว่ามีความพึงพอใจมากที่สุดต่อการเปลี่ยนแปลงจากโครงการโดยรวมและน้อยที่สุดในด้านสภาพแวดล้อมก่อนการดาเนินงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของโครงการฯคือการมีส่วนร่วมของชุมชนและเจ้าหน้าที่ รวมถึงปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน รวมถึงงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินโครงการฯนั้น มีสาเหตุมาจากการวางแผนการดาเนินงานถูกกาหนดมาจากส่วนกลางซึ่งไม่เหมาะสมกับความต้องการของประชาชน ความไม่ไว้วางใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และการขาดความรู้ด้านการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก รวมถึงความไม่ต่อเนื่องของการดาเนินโครงการฯ ซึ่งแนวทางในการพัฒนาโครงการฯนั้นควรมีการดาเนินการพัฒนาต่อยอดโครงการฯที่ได้ส่งเสริมไปแล้วให้สาเร็จทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้สามารถพึ่งพาตัวเองได้และเกิดความยั่งยืนตลอดไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.285-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ป่าไม้--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ป่าไม้--การบริหารth_TH
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานโครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ป่าไม้บ้านหัวทุ่ง ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeIncreasing operational efficiency of local sufficiency economy project in the forest area at Ban Hua Tung, Chiang Dao Sub-district, Chiang Dao, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.285-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138823.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons