Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1795
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริลักษณ์ วงส์พิเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | จิตติมา กันตนามัลลกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วรวุฒิ สุมา, 2521- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-19T07:59:14Z | - |
dc.date.available | 2022-10-19T07:59:14Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1795 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้หญ้ารูซี่สดในอาหารไก่พื้นเมือง ที่มีต่อ 1) สมรรถภาพการผลิตของไก่พื้นเมือง ในด้านการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหาร และ 2) ต้นทุนค่าอาหาร ผลการวิจัย พบว่า 1) การใช้หญ้ารูซี่สดในอาหารไก่พื้นเมืองมีผลต่อการเจริญเติบโตและ ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารของไก่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยไก่พื้นเมืองที่ ได้รับอาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 5% (T2) มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยสูงสุด คือ 14.14 กรัม/ตัว/วัน รองลงมาคือ อาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 10 % (T3) อาหารควบคุม (T1) และอาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 15 % (T4) ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 12.81 12.47 และ 11.63 กรัม/ตัว/วัน ตามลา ดับ ทั้งนี้ไก่พื้นเมืองที่ ได้รับอาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 5 % (T2) มีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารดีที่สุด คือ 6.92 รองลงมาคือ อาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 10 % (T3) อาหารควบคุม (T1) และอาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 15 % (T4) ซึ่งมี ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเท่ากับ 7.68 7.79 และ 8.47 ตามลา ดับ การใช้หญ้ารูซี่สดในระดับที่สูงเกิน กว่า 10 % ของสูตรอาหารมีผลทา ให้ประสิทธิภาพการผลิตของไก่พื้นเมืองมีแนวโน้มลดลง ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากปริมาณเยื่อใยในอาหารมีผลทาให้ไก่ใช้ประโยชน์โภชนะในอาหารได้ลดลง 2) เมื่อวิเคราะห์ ต้นทุนค่าอาหาร พบว่าการใช้หญ้ารูซี่สดมีผลลดต้นทุนค่าอาหารต่อการเพิ่มน้า หนักตัวไก่ 1 กิโลกรัมอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยไก่พื้นเมืองที่ได้รับอาหารเสริมหญ้ารูซี่สด 5 % มีต้นทุนค่าอาหารต่อ การเพิ่มน้า หนักตัวไก่ 1 กิโลกรัม ต่า สุด คือ 86.12 บาท เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ใช้หญ้ารูซี่สด 10 %, 15 % และกลุ่มควบคุมที่มีต้นทุนค่าอาหาร 91.34 96.10 และ 101.28 บาทต่อการเพิ่มน้า หนักตัวไก่ 1 กิโลกรัม ตามลา ดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.186 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ไก่พื้นเมือง--การเลี้ยง | th_TH |
dc.subject | ไก่พื้นเมือง--อาหาร. | th_TH |
dc.title | สมรรถภาพการผลิตของไก่พื้นเมืองที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมหญ้ารูซี่สด | th_TH |
dc.title.alternative | Productive performance of native chicken fed with fresh Ruzi grass as supplement | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.186 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140985.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License