Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1807
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดาทิพย์ รันคำภา, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T07:01:31Z-
dc.date.available2022-10-20T07:01:31Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1807-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพริกแบบ GAP ในตาบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 2) การจัดการการผลิตพริกของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพริกแบบ GAP ในตาบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 3) ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการผลิตพริกของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพริกแบบ GAP ในตาบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรผู้ผลิตพริกมากกว่าครึ่งเป็นเพศหญิง อำยุเฉลี่ย 49.56 ปี จบประถมศึกษาตอนปลาย สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.03 คน ประกอบอาชีพทำนา ประสบการณ์ผลิตพริกเฉลี่ย 12.5 ปี ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สิ่งจูงใจปลูกพริกคือรายได้ แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.24 คน แรงงานจ้างเฉลี่ย 2.80 คน พื้นที่ปลูกพริกเฉลี่ย 1.73 ไร่ ต้นทุนปลูกพริกเฉลี่ย 8,750 บาท/ไร่ รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ย 125,460 ส่วนใหญ่การปลูกพริกใช้เงินทุนของตัวเอง 2) การจัดการการผลิต พบว่า เกษตรกรมีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับพืช ในระดับมากถึงมากที่สุดในด้านแหล่งปลูก พื้นที่ปลูก พันธุ์พริกที่ใช้ การปลูกพริก การดูแลรักษา สุขลักษณะหรือความสะอาด การควบคุมศัตรูพริก การเก็บผลผลิตและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว 3) ปัญหาในการผลิตพริก พบว่า ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านสภาพพื้นที่ปลูก ด้านโรคและแมลงศัตรูพืช ด้านต้นทุนการผลิต ด้านเงินทุน ด้านราคา และด้านความรู้เทคโนโลยีการผลิต 4) แนวทางในการพัฒนาการผลิตพริก ได้แก่ (1) การพัฒนาความรู้ด้านการผลิตและการตลาดพริก (2) การฟื้นฟูสภาพดิน (3) การเพิ่มปริมาณผลผลิต (4)การลดต้นทุนการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่ปลอดภัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.381-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพริก--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--อุบลราชธานีth_TH
dc.titleแนวทางการจัดการการผลิตพริกตามหลักเกษตรดีที่เหมาะสมของเกษตรกรในตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeGuidelines for chili production management adhering to good agricultural practice for farmaers at Hua Ruea Sub-District in Mueang District of Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.381-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) economic and social conditions of chili farmers using GAP method in Hua Reau Sub-District, Mueang District, Ubon Ratchathani Province; 2) their chili production management; and 3) their difficulties and guidelines to improve the chili production using GAP method. Results showed that 1) more than half of the chili farmers studied were female with an average age of 49.56. Their highest education was elementary school. The average number of family members was 4.03. Most supported themselves by growing rice. On average they had 12.5 years experience in chili production. Most were members of the Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives. Motivation for growing chili was income. The average number of laborers in each family was 2.24 people, with additional average hired labor of 2.80 people. The average area used for growing chili was 1.73 rai (2,768 m2), and the capital cost for growing chili was 8,750 baht/rai. The average income from farming was 125,460 baht. Most used personal funds to grow chili. 2) Considering production management, overall, the farmers used good agricultural practices, on the levels of good to very good in the following areas: location, growing area, chili variety used, growing, maintenance, hygienic practice or cleanliness, pest control, harvesting and post harvest operations. 3) The major chili production problems were growing area conditions, plant diseases and insect pests, production costs, source of capital, price and technological knowledge pertaining to production. 4) Guidelines for production improvement were (1) improve chili production and market knowledge; (2) rehabilitate soil conditions; (3) increase yield; and (4) decrease capital cost with safe technologies.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141030.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons