Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาจิรี ไตรปิฎก, 2493--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T07:10:30Z-
dc.date.available2022-10-20T07:10:30Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1808-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิผลการนิเทศ งานการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ 2) ศึกษาความปลอดภัยของผู้ป่วยและความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลของการนิเทศงานพยาบาล ของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความปลอดภัย ของผู้ป่วยและความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ประชากรเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 510 คน ซึ่งปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม ประสิทธิผลการนิเทศงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาล ภูมิพลอดุลยเดช ความปลอดภัยของผู้ป่วยและความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ หาค่าความเที่ยง โดยวิธี ของครอนบราคา มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .9631 .9360 และ .8926 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product- Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิผลการนิเทศงานการพยาบาล ของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการ รับรู้ของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับสูง 2) ความปลอดภัยของผู้ป่วยรอยู่ในระดับสูง และความพึงพอใจ ของผู้รับการนิเทศอยู่ในระดับสูง 3) ประสิทธิผลการนิเทศงานการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับความปลอดภัยของผู้ป่วยและด้านความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศตามการรับรู้ของ ของพยาบาลวิชาชีพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และระดับสูง (r = .668 และ .763) ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.subjectการนิเทศทางการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการนิเทศงานการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับความปลอดภัยของผู้ป่วยและความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between the effectiveness of supervision of head nurses and patient safety and satisfaction on being supervised of professional nurses at Bhumibol Adulyadej Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study the supervision effectiveness of head nurses, (2) to investigate patients* safety, (3) find the level of patient satisfaction on being supervised of professional nurses, and (4) to examine the relationships between the effectiveness of supervision by head nurses and (a) patients’ safety and (b) the satisfaction on being supervised by professional nurses at Bhumibol Adulyadej Hospital. The population comprised 510 professional nurses who worked at Bhumibol Adulyadej Hospital. Three sets of questionnaires (covering supervision effectiveness, patients’ safety, and satisfaction on being supervised) were used as research tools. They were tests for reliability and validity. The Cronbach Alpha reliability coefficients of the first, the second, and the third sets were 0.96, 0.93, and 0.89 respectively. The statistical devices used for data analysis were both descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and Pearson’s Correlation Coefficient. The findings were as follows. (1) Professional nurses rated the effectiveness of supervision performed by their head nurses at the high level. (2) They also rated patients’ safety at the high level. (3) Moreover, they rated their satisfaction on the supervision by their head nurses at the high level. Finally, (3) there was a statistically significant positive correlation between the effectiveness of supervision by head nurses and (a) patients’ safety (p < .01, r = .66) and (b) satisfaction on being supervised (r- 0.76,p <.01).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108900.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons