Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสายพิณ เกษมกิจวัฒนา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอดินุช ศุภการกำจร, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-21T02:47:07Z-
dc.date.available2022-10-21T02:47:07Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1819-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเซิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการ ปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านนโยบายองค์กร ปัจจัย ด้านการสนับสนุนจากผู้บริหาร ปัจจัยด้านสมรรถนะของพยาบาลและปัจจัยด้านปัญหาอุปสรรคกับ การใช้หลักฐานเซิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล (3) ปัจจัยที่ร่วมทำนายการใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ ทุกคนที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยา ในช่วงที่ศึกษา จำนวน 199 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้หลักฐานเซิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล และการใช้หลักฐาน เซิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือน มิถุนายน 2551 สถิติที่ใชัวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) การใช้หลักฐานเซิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.35) (2) ปัจจัยด้านสมรรถนะของพยาบาล ปัจจัยด้านนโยบายองค์กร ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากผู้บริหารมีความสัมพันธ์ทางบวกและปัจจัยด้านปัญหาอุปสรรคมี ความสัมพันธ์ทางลบกับการใช้หลักฐานเซิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล (r = .53, P <.001; r= .42, P <.001; r = .35, p <.001; r = - .33, p <.001 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (3) ปัจจัยด้านสมรรถนะของพยาบาล ปัจจัยด้านนโยบายองค์กรและปัจจัยด้านปัญหาอุปสรรค สามารถ ร่วมกันทำนายการใช้หลักฐานเซิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลได้ ร้อยละ 38 ( R2 = .38) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ผลการวิจัยครั้งนี้ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาระบบการใช้หลักฐานเซิงประจักษ์ ในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลอย่างต่อเนื่องต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ภาระงานth_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting to the use of evidence-based nursing practice at Chiengkham Hospital, Payao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were to: (1) study of the use of evidence-based nursing practice in professional nurses Chiengkham Hospital; (2) study the relationship between organization policy, supportive from administration, nurses competency, barrier factors and evidence-based practice; (3) predict a factor of evidence-based nursing practice. The samples were 199 professional nurses working in Chiengkham Hospital in June 2008. The instrument was questionnaires with reliability .91. The statistics include percentage, mean, standard deviation, Pearson’s Correlation Coefficient and Stepwise multiple regression analysis. The major finding were as follows: (1) evidence-based nursing practice were at moderate level (X = 3.35); (2) nurses competency, organization policy and supportive from administration factors were at positive significantly relate to evidence- based practice (r = .53, p <.001; r = .42, p <.001 and r = .35, p <.001) Barriers factors was at negative significantly relate to evidence-based practice (r = -.33, p <.001) significantly related at .001 level; (3) nurses competency, organization policy and barriers factors were predicted evidence-based nursing practice. These three factors were the predictors as they all accounted for 38% (R - .38) significantly predicted at .001 level. Based on the major finding it could be used as background information for develop evidence-based nursing practice system. In order to improve quality of nursing practice by using evidence-baseden_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108913.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons