Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภา ศรีรุ่งเรือง, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.th_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T02:35:58Z-
dc.date.available2022-10-25T02:35:58Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1831-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของ หัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง (2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของ หัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง ที่มีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ และวุฒิการศึกษาต่างกัน (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งพยาบาล วิชาชีพ และวุฒิการศึกษาของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง ประชากรที่ศึกษาคือพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้างานที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ชุมชน ของจังหวัดลำปาง 12 แห่ง จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามการตัดสินใจเชิงจริยธรรมตามสถานการณ์ที่กำหนด 10 สถานการณ์ ซึ่งแบบสอบถามส่วนที่ 2 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การตัดสินใจเชิงจริยธรรมของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดลำปาง มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) หัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน จังหวัด ลำปาง ที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ แตกต่างกัน มีการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตามหลักจริยธรรมโดยรวมไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ส่วนหัวหน้าหอผู้ป่วย ที่มีวุฒิ การศึกษาระดับแตกต่างกันมีการตัดสินใจเชิงจริยธรรมตามหลักจริยธรรมแตกต่างกัน ที่ระดับความมี นัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (3) การตัดสินใจเชิงจริยธรรมของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์กับระยะเวลา ในการปฏิบัติงานในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ วุฒิการศึกษาในระดับค่าโดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.16 และ 0.15 ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.289en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectจริยธรรมในการทำงานth_TH
dc.subjectการตัดสินใจth_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectหัวหน้าพยาบาลth_TH
dc.titleการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeEthical decision-making by head nurses at Community Hospitals, Lumpang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.289en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were ะ (1) to study ethical decision- making by head nurses at community hospitals in Lumpang province. (2) to compare ethical decision making by head nurses who had different (a) time periods of working as professional nurses and (b) educational levels, and (3) to examine the relationship between ethical decision-making by head nurses and (a) time period of working and (b) educational levels. The population comprised 125 head nurses who worked at 12 community hospitals in Lumpang province. Two sets of questionnaires, covering personal data and ethical decision- making in 10 situations, were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The Cronbach’s alpha reliability coefficient of the second set was 0.75. The statistical devices used for data analysis were both descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and Pearson product-moment correlation coefficient. The findings were as follows, (1) Head nurses at community hospitals in Lumpang province rated their ethical decision-making at the high level. (2) There was no statistically significant difference in ethical decision- making by head nurses who had different time periods of working (p > 0.05). However, there was statistically significant difference in ethical decision- making by head nurses who had different educational levels (p < 0.05). Finally, (3) there were statistically significant positive correlations between ethical decision-making by head nurses and their (a) proressional experiences (r = .16, p < .05) and (b) educational levels (r - .15, p < .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109951.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons