Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวิณี วิวัฒน์วานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมยุรี กมลบุตร, 2497--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T03:44:53Z-
dc.date.available2022-10-25T03:44:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1833-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้า หอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข (2) ศึกษาประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการ เปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และ เขต 5 กระทรวง สาธารณสุข ประชากรคือ หัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งสิ้น 11 แห่ง จำนวน 247 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม 3 ส่วน ส่วนที่ 1 คือแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ส่วน ที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ ส่วนที่ 3 แบบสอบถามประสิทธิผล ของหอผู้ป่วยตามการรับรื่องหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และ ส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.95 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะหข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป หาค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีพฤติกรรมด้านสรัางกลุ่มผู้นำการ ขับเคลื่อน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าด้านอื่น ส่วนพฤติกรรมด้านกระผู้นำและข้บเคลื่อนใหัเกิดความยั่งยืนมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่า ด้านอื่น (2) ประสิทธิผลของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อจำแนกรายด้านพบว่าประสิทธิผลของหอผู้ป่วยด้านการบรรลุเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยมากกว่าด้านอื่น ประสิทธิผลด้านการได้มาของทรัพยากรมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าด้านอื่น (3) พฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธกันทางบวกทุกด้านในระคับสูงกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไป เขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.72)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectพฤติกรรมการบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectหัวหน้าพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และเขต 5 กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between transformational leadership of head nurses and effectiveness of patient units at general hospitals in region 4 and 5 under the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were : (I) to study transformational leadership of head nurses,(2) to investigate the effectiveness of patient units, and (3) to examine the relationship between transformational leadership of head nurses and the effectiveness of patient units al general hospitals in Regions 4 and Regions 5 under the Ministry of Public Health. The population comprised 247 head nurses who worked at eleven general hospitals in Region 4 and Regions 5 under the Ministry of Public Health. Three sets of questionnaires, covering (a) personel data, (b) transformational leadership of head nurses and (c) the effectiveness of patient units, were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of pan two and pan three were 0.95 and 0.94 respectively. The statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation and Pearson product’ moment correlation coefficient. The findings were as follows. (1) Head nurses rated their transformational leadership of head nurses at general hospitals in Regions 4 and Regions 5 under the Ministry of Public Health at high level .The mean score of their leadership behavior on building and guiding teams was highest .On the other hand, the mean score of their leadership behaviors on encouraging and striving for sustainability was lowest. (2) Head nurses rated the effectiveness of patient units at general hospitals in Regions 4 and Region 5 under the Ministry of Public Health al the high level .The mean score of the effectiveness on goal accomplishment was highest .but the effectiveness on gaining resources was lowest .Finally, (3) there was a statistically significant positive correlation at high level between transformational leadership of head nurses and the effectiveness of patient unit at general hospitals in Regions 4 and Region 5 under the Ministry hot Public Health ( r = 0.72,p <.0l).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109953.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons