Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1834
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภัทรา เอื้อวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแพรวผกาย จรรยาวิจักษณ์, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T04:25:27Z-
dc.date.available2022-10-25T04:25:27Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1834-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการบริหาร แบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วย (2) ระดับความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับความพึงพอใจ ในงานตามการรับรู้ของ พยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยของ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 335 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ความคิดเห็น เกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วยและความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ ในงานตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่า CVI เท่ากับ 0.86 และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ค่า เท่ากับ 0.95 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติรัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสัทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายและวิเคราะห์การ ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรทีละขั้นนตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของ พยาบาลประจำการ 2) ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก และ 3) การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยการ บริหารแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถพยากรณ์ความพึงพอใจในงานของพยาบาล ประจำการได้รัอยละ 27.90 เมื่อวิเคราะห์รายด้านพบว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมด้านการมีส่วนร่วม ในการทำใหัองค์กรเกิดการเปลี่ยนแปลงและด้านการมีส่วนร่วมในการตั้งวัตถุประสงค์สามารถร่วมกัน พยากรณ์ความพึงพอใจในงานได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหมth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between participatory management of head nurses and job satisfaction of professional nurses at Hospitals under the Ministry of Defenseth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was a descriptive research and the purposes of this research were: (1) to study participatory management of head nurses; (2) to investigate job satisfaction of professional nurses; and (3) to explore the relationship between participatory management of head nurse and job satisfaction of professional nurses at hospitals under the Ministry of Defense. The sample of this study consisted of 335 professional nurses who worked at the In-Patient Departments of the Ministry of Defense’s hospitals, and they were selected by simple random sampling technique. Questionnaires, constructed by the researcher, were used as research tools and consisted of three parts: personal information, participatory management of head nurse, and job satisfaction of professional nurses.The content validity of questionnaires was examined by 5 experts. The CVI score was 0.86. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second and third sections were 0.95 and 0.94 respectively. Data were analyzed by percentages, means, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The results of this study revealed as follows: 1) professional nurses rated that their head nurses performed participatory management at the high level; 2) they also rated their job satisfaction at the high level; 3) participatory management correlated significantly positively with job satisfaction (p < 0.01). Participatory management performed by heads nurses could predict job satisfaction of professional nurses. The predictor accounted for 27.90 %.The Participatory management by modification and objective significantly predicted job satisfaction of professional nurses (p < 0.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109956.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons