Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1864
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล | th_TH |
dc.contributor.author | นวลฉวี พะโน, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-27T02:58:17Z | - |
dc.date.available | 2022-10-27T02:58:17Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1864 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการที่ 11 ประชากรได้แก่ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติงานที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 1,158 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 389 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจาก แนวคิดของวอลตัน ประกอบด้วยคุณภาพชีวิตการทำงาน 8 ด้าน เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 59 ข้อ ตรวจสอบความตรงตามเนึ้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 6 คน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบแบบแมกซิมัม ไลค์ลิฮูด หมุนแกนองค์ประกอบวิธีโปรแมก ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการที่ 11 มี อายุเฉลี่ย 36 ปี ส่วนใหญ่ (ร้อยถะ 96.7) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 82.8 ดำรงตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ (ระดับ 6-7) มีรายได้ประจำเฉลี่ยเดือนละ 20,573 บาท ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนเฉลี่ย 13 ปี และเกินกว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 60.2) ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชนเขตตรวจราชการที่ 11 ประกอบด้วยองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ จำนวน 50 ข้อ อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 62.48 ได้แก่ (1) โอกาสในการพัฒนาและความกัาวหน้า จำนวน 12 ข้อ (2) ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การ จำนวน 6 ข้อ (3) ค่าตอบแทนที่เหมาะสม จำนวน 6 ข้อ (4) สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 6 ข้อ (5) ความมั่นคงในงาน จำนวน 4 ข้อ (6) ความสัมพันธ์กับสังคม จำนวน 5 ข้อ (7) สิทธิในการทำงาน จำนวน 5 ข้อ (8) ความสมดุลของเวลาทำงานและชีวิตส่วนตัว จำนวน 3 ข้อ และ (9) ความเสมอภาคในองค์การ จำนวน 3 ข้อ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--ภาระงาน | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการที่ 11 | th_TH |
dc.title.alternative | Factor analysis of quality of work life of professional nurses at community hospitals in Public Health Region 11 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to investigate the factors of quality of work life of professional nurses at community hospitals in Public Health Region 11. The population comprised 1,158 professional nurses who had working experience more than one year at community hospitals in Public Health Region 11. The sample of this study included 389 professional nurses selected by a multi-stage sampling technique. Questionnaires, developed by the researcher, concerning quality of work life based on Walton (1973), were used as research tools. The questionnaires consisted of 8 factors for work life quality of professional nurses- These 59- item questionnaires used a five points Likert rating scale. Content validity was verified by six experts. The Cronbach alpha reliability coefficient was 0.93. Data were analyzed by means, standard deviation, and factor analysis by using a promax rotation. The study results were as follows. The average age of professional nurses was 36 years. Most of them (96.7%) earned bachelor degree Their position classification was professional nurse; expert level (C6-7) (82.8%). The average monthly salary was 20,573 baht. The average year of working experience in community hospitals wasl3 years. More than half of them (60.2%) had worked at 30 bed hospitals. The quality of work life of these nurses included 50items which accounted for 62.48% of the variance and yielded nine factors as follows: 1) opportunities for development and promotion (12 items), 2) interpersonal relationship in their organizations (6 items), 3) appropriate compensation (6 items), 4) safe and healthy working environments (6 items), 5) job security (5 items), 6) relationship with societies (5 items), /) working rights (5 items), 8) balance of their work and personal life (3 items), and 9) equality in their organizations^ items). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib114926.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License